ActivityPub Viewer

A small tool to view real-world ActivityPub objects as JSON! Enter a URL or username from Mastodon or a similar service below, and we'll send a request with the right Accept header to the server to view the underlying object.

Open in browser →
{ "@context": "https://www.w3.org/ns/activitystreams", "type": "OrderedCollectionPage", "orderedItems": [ { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:778333276216500240", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "ไม่เคยเห็นดารามีการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างเครดิตหรือแอบแฝง ผลปนะโยชน์ จากบุคคลกลุ่มใด เพื่อขอรับบริจาคเงิน ช่วยเหลือ โครงการต่างๆ ที่เจ๊งกระบวย เลยสักครั้ง //ในรัฐบาลทักษิณ และ รัฐบาลยิ่งลักษณ์ นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้ง จากเสียงข้างมาก ของประชาชน บริหารประเทศเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ เพื่อความเจริญก้าวหน้าทันโลก", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/778333276216500240", "published": "2017-11-17T18:58:28+00:00", "source": { "content": "ไม่เคยเห็นดารามีการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างเครดิตหรือแอบแฝง ผลปนะโยชน์ จากบุคคลกลุ่มใด เพื่อขอรับบริจาคเงิน ช่วยเหลือ โครงการต่างๆ ที่เจ๊งกระบวย เลยสักครั้ง //ในรัฐบาลทักษิณ และ รัฐบาลยิ่งลักษณ์ นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้ง จากเสียงข้างมาก ของประชาชน บริหารประเทศเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ เพื่อความเจริญก้าวหน้าทันโลก", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:778333276216500240/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:777614746265329684", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "เด็กเยาวชนไทยตาสว่าง เปิดใจกว้างเพื่อสังคมในวันนี้และวันหน้า พลังอันบรสุทธิ์ของเด็กเยาวชนไทย กลั่นจากใจที่คิดกว้างและเห็นค่า ความเป็นมนุษย์ต้องเท่าเทียม จึงเรียกร้องมา เขียนป้ายผ้า ข้าไม่เอา ระบอบเผด็จการ 55555 <br /><br /> พวกผู้ใหญ่กลุ่มหนึ่งก็จ้องแต่ราวี อ้าวไอ้หนู เปิดกะลาทำไมนี่ข้าแสบตา ปิดกะลาเดี๋ยวนี้นะ ข้าอับอาย เอิ๊กๆๆๆๆ<br />", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/777614746265329684", "published": "2017-11-15T19:23:02+00:00", "source": { "content": "เด็กเยาวชนไทยตาสว่าง เปิดใจกว้างเพื่อสังคมในวันนี้และวันหน้า พลังอันบรสุทธิ์ของเด็กเยาวชนไทย กลั่นจากใจที่คิดกว้างและเห็นค่า ความเป็นมนุษย์ต้องเท่าเทียม จึงเรียกร้องมา เขียนป้ายผ้า ข้าไม่เอา ระบอบเผด็จการ 55555 \n\n พวกผู้ใหญ่กลุ่มหนึ่งก็จ้องแต่ราวี อ้าวไอ้หนู เปิดกะลาทำไมนี่ข้าแสบตา ปิดกะลาเดี๋ยวนี้นะ ข้าอับอาย เอิ๊กๆๆๆๆ\n", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:777614746265329684/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:777530520488648713", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "พบกับ \"อเนก ซานฟราน\" ในรายการเข็มทิศประเทศไทย ๑๕ พ.ย.๒๕๖๐ ตอน นักเลือกตั้งหลงทาง ประชาชนต้องย่างสู่ระบอบใหม่ >> <a href=\"https://youtu.be/TtoovZZ-IAw\" target=\"_blank\">https://youtu.be/TtoovZZ-IAw</a> Anek <br /><br />Sanfran : <a href=\"https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=339957089748446&amp;id=120855748325249\" target=\"_blank\">https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=339957089748446&amp;id=120855748325249</a><br />", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/777530520488648713", "published": "2017-11-15T13:48:37+00:00", "source": { "content": "พบกับ \"อเนก ซานฟราน\" ในรายการเข็มทิศประเทศไทย ๑๕ พ.ย.๒๕๖๐ ตอน นักเลือกตั้งหลงทาง ประชาชนต้องย่างสู่ระบอบใหม่ >> https://youtu.be/TtoovZZ-IAw Anek \n\nSanfran : https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=339957089748446&id=120855748325249\n", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:777530520488648713/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:776454321792360460", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "ปกิณะกะ จาก ความคิดแผลงๆ ในการต่อสู้คดี ที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา และ วินิจฉัยของ องค์คณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็น คณะอนุญาโตตุลาการขององค์การการค้าโลก หรือ WTO หรือ องค์คณะอนุญาโตตุลาการของคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศของ องค์การสหประชาชาติ (UNCITRAL) ในคดีที่พิพาทกันตาม(สนธิสัญญา) ข้อตกลงการค้าเสรี หรือ FTA. Free Trade Area ประเทศไทย พิพาท กับ ประเทศออสเตรเลีย ๑. การที่จะไปเที่ยวอ้างว่า มีรมต.ของ พรรคเพื่อไทย รับสินบน แล้ว จึงเข้าไปให้สัมปทานแก่ บริษัท ออสเตรเลีย เป็นเรื่อง ที่เลื่อนลอย เอามากๆ ๒. เพราะเรื่องนี้ ก่อนที่จะมาลงมือทำ EIA และ HIA {เพื่อเข้าไปรับสัมปทานได้โดยสมบูรณ์ตามกฎหมาย} ต้องมี การเดินสำรวจเสียก่อน การจัดหาบริษัทฯมาเดินสำรวจ และ ระยะเวลา เพื่อการสำรวจแหล่งแร่ จนเกิดความแน่ใจว่า สมควรจะลงทุน{ทางด้านผู้ ที่เข้ามา ลงทุน (ออสเตรเลีย)} กินเวลาอย่างน้อยๆ ๑๐ ปีล่วงหน้า ๓. ข้อเท็จจริงในคดี คนทั้งหลาย มักมา ตัดตอน “ตอนที่เปิดดำเนินการ คือ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ และ เข้ารับสัมปทาน จากรัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ หยิบมาเป็น “ตัวตั้ง” ซึ่ง เป็น ความคิด ที่ไม่ถูกต้อง หากมี ความคิดเช่นนี้ ๔. ในเรื่องแร่ธาตุในดิน เรา ต้องนับ เวลาถอยหลังไป เป็น ๑๐ ปี (ธรรมชาติของธุรกิจ)” ** ไม่เชื่อผมให้ ดูต่อไป ว่าสิ่งที่คสช. และ ปปช.ซึ่งเป็นองค์กร [เถื่อน] ตามกฎหมายทั้งหมด ร่วมกัน ปรุงแต่งขึ้น จะ เป็นไปได้ จริงหรือ?** ๕. ผมจึงไปยกเอาคดี ที่ศาลโลกเดิม ได้วินิจฉัยไว้ ในชื่อคดีว่า “Mavrommatis the Palestine Concessionary Case.\" ที่นับว่าใกล้เคียงกับ คดี ที่จะเกิด ในคณะอนุญาโตตุลาการ มากที่สุด (โดยเปรียบเทียบ) ควัก ออกมา ให้ศึกษากัน ๖. เมื่อรูปลักษ์ ออกมา เช่นนี้ จึงเป็น อีกครั้งที่เรา คง ต้อง สวัสดี ความเศร้า กับ ประเทศไทย ที่อุตส่าห์แถในข้อเท็จจริงทั้งหลาย จนสีข้าง เป็น แผลเลือดไหล ริน แล้ว ไม่ได้ผลอะไร? เลย ๗. นี่ไงครับ การพยายามหา ข้อต่อสู้ มาสู้ พร้อมกัน กับ การปกปิดความชั่วของ ตัวเองไปด้วย และ ในขณะเดียวกัน ก็โกหก กะล่อน ปลิ้นปล้อน ตะหลบ ตะแลง ชี้นำ พลเมืองไทย ให้หลงผิดตามไป อย่างน้อย ก็พวกสลิ่ม ส่วนหนึ่ง ที่เบาปัญญา ๘. เมื่อเรื่อง เป็นเช่นนี้ ก็ต้อง ให้คนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ในประเทศ ต้องนั่งดู กรณีพิพาทในคดีนี้ไป ในรูปแบบ “อย่าละวาง ในสายตา” แล้ว เราคง ต้อง มาดูกัน ว่า เรื่องประเด็นในคดีนี้ จะเป็นไปตาม ที่คสช. และ ปปช. ที่เป็น [องค์การเถื่อน] ต้องการ และ ยกขึ้น ต่อสู้ หรือ ๙. เรื่องในคดี ที่อยู่ในการพิจารณา และ วินิจฉัยของ คณะอนุญาโตตุลาการ จะ ดำเนินไป จนถึงที่สุด (เวลาที่ต้องให้คำวินิจฉัยโดยอนุญาโตตุลาการ คณะนั้นๆ) ว่า เขา เกาะ กุม กับ หลักการตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะ เกาะ กับหลักการตามกฎหมายของ [องค์กรเถื่อนในประเทศไทย] ๑๐. นี่คือบทสรุป ที่เรา ควร ต้องมา นั่งลง และ ทำความเข้าใจกัน พร้อมกับมีคนทั้งพวก ทั้งคณะในประเทศไทย ต้อง วิ่งหา ทองคำ มาปั๊ม เป็น “เหรียญทองคำ” พร้อมกับนำไปชำระ ค่าปรับไหม ตามที่คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มี คำสั่ง หรือ มี คำวินิจฉัยในคดีนี้ ในที่สุด. สวัสดี. Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a> <br />-----------<br />Voce : <a href=\"https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=247906495739674&amp;id=100015609754106\" target=\"_blank\">https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=247906495739674&amp;id=100015609754106</a><br />", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/776454321792360460", "published": "2017-11-12T14:32:12+00:00", "source": { "content": "ปกิณะกะ จาก ความคิดแผลงๆ ในการต่อสู้คดี ที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา และ วินิจฉัยของ องค์คณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็น คณะอนุญาโตตุลาการขององค์การการค้าโลก หรือ WTO หรือ องค์คณะอนุญาโตตุลาการของคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศของ องค์การสหประชาชาติ (UNCITRAL) ในคดีที่พิพาทกันตาม(สนธิสัญญา) ข้อตกลงการค้าเสรี หรือ FTA. Free Trade Area ประเทศไทย พิพาท กับ ประเทศออสเตรเลีย ๑. การที่จะไปเที่ยวอ้างว่า มีรมต.ของ พรรคเพื่อไทย รับสินบน แล้ว จึงเข้าไปให้สัมปทานแก่ บริษัท ออสเตรเลีย เป็นเรื่อง ที่เลื่อนลอย เอามากๆ ๒. เพราะเรื่องนี้ ก่อนที่จะมาลงมือทำ EIA และ HIA {เพื่อเข้าไปรับสัมปทานได้โดยสมบูรณ์ตามกฎหมาย} ต้องมี การเดินสำรวจเสียก่อน การจัดหาบริษัทฯมาเดินสำรวจ และ ระยะเวลา เพื่อการสำรวจแหล่งแร่ จนเกิดความแน่ใจว่า สมควรจะลงทุน{ทางด้านผู้ ที่เข้ามา ลงทุน (ออสเตรเลีย)} กินเวลาอย่างน้อยๆ ๑๐ ปีล่วงหน้า ๓. ข้อเท็จจริงในคดี คนทั้งหลาย มักมา ตัดตอน “ตอนที่เปิดดำเนินการ คือ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ และ เข้ารับสัมปทาน จากรัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ หยิบมาเป็น “ตัวตั้ง” ซึ่ง เป็น ความคิด ที่ไม่ถูกต้อง หากมี ความคิดเช่นนี้ ๔. ในเรื่องแร่ธาตุในดิน เรา ต้องนับ เวลาถอยหลังไป เป็น ๑๐ ปี (ธรรมชาติของธุรกิจ)” ** ไม่เชื่อผมให้ ดูต่อไป ว่าสิ่งที่คสช. และ ปปช.ซึ่งเป็นองค์กร [เถื่อน] ตามกฎหมายทั้งหมด ร่วมกัน ปรุงแต่งขึ้น จะ เป็นไปได้ จริงหรือ?** ๕. ผมจึงไปยกเอาคดี ที่ศาลโลกเดิม ได้วินิจฉัยไว้ ในชื่อคดีว่า “Mavrommatis the Palestine Concessionary Case.\" ที่นับว่าใกล้เคียงกับ คดี ที่จะเกิด ในคณะอนุญาโตตุลาการ มากที่สุด (โดยเปรียบเทียบ) ควัก ออกมา ให้ศึกษากัน ๖. เมื่อรูปลักษ์ ออกมา เช่นนี้ จึงเป็น อีกครั้งที่เรา คง ต้อง สวัสดี ความเศร้า กับ ประเทศไทย ที่อุตส่าห์แถในข้อเท็จจริงทั้งหลาย จนสีข้าง เป็น แผลเลือดไหล ริน แล้ว ไม่ได้ผลอะไร? เลย ๗. นี่ไงครับ การพยายามหา ข้อต่อสู้ มาสู้ พร้อมกัน กับ การปกปิดความชั่วของ ตัวเองไปด้วย และ ในขณะเดียวกัน ก็โกหก กะล่อน ปลิ้นปล้อน ตะหลบ ตะแลง ชี้นำ พลเมืองไทย ให้หลงผิดตามไป อย่างน้อย ก็พวกสลิ่ม ส่วนหนึ่ง ที่เบาปัญญา ๘. เมื่อเรื่อง เป็นเช่นนี้ ก็ต้อง ให้คนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ในประเทศ ต้องนั่งดู กรณีพิพาทในคดีนี้ไป ในรูปแบบ “อย่าละวาง ในสายตา” แล้ว เราคง ต้อง มาดูกัน ว่า เรื่องประเด็นในคดีนี้ จะเป็นไปตาม ที่คสช. และ ปปช. ที่เป็น [องค์การเถื่อน] ต้องการ และ ยกขึ้น ต่อสู้ หรือ ๙. เรื่องในคดี ที่อยู่ในการพิจารณา และ วินิจฉัยของ คณะอนุญาโตตุลาการ จะ ดำเนินไป จนถึงที่สุด (เวลาที่ต้องให้คำวินิจฉัยโดยอนุญาโตตุลาการ คณะนั้นๆ) ว่า เขา เกาะ กุม กับ หลักการตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะ เกาะ กับหลักการตามกฎหมายของ [องค์กรเถื่อนในประเทศไทย] ๑๐. นี่คือบทสรุป ที่เรา ควร ต้องมา นั่งลง และ ทำความเข้าใจกัน พร้อมกับมีคนทั้งพวก ทั้งคณะในประเทศไทย ต้อง วิ่งหา ทองคำ มาปั๊ม เป็น “เหรียญทองคำ” พร้อมกับนำไปชำระ ค่าปรับไหม ตามที่คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มี คำสั่ง หรือ มี คำวินิจฉัยในคดีนี้ ในที่สุด. สวัสดี. Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09 \n-----------\nVoce : https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=247906495739674&id=100015609754106\n", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:776454321792360460/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:776414609958510605", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "ปกิณะกะ จาก ความคิดแผลงๆ ในการต่อสู้คดี ที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา และ วินิจฉัยของ องค์คณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็น คณะอนุญาโตตุลาการขององค์การการค้าโลก หรือ WTO หรือ องค์คณะอนุญาโตตุลาการของคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศของ องค์การสหประชาชาติ (UNCITRAL) ในคดีที่พิพาทกันตาม(สนธิสัญญา) ข้อตกลงการค้าเสรี หรือ FTA. Free Trade Area ประเทศไทย พิพาท กับ ประเทศออสเตรเลีย ๑. การที่จะไปเที่ยวอ้างว่า มีรมต.ของ พรรคเพื่อไทย รับสินบน แล้ว จึงเข้าไปให้สัมปทานแก่ บริษัท ออสเตรเลีย เป็นเรื่อง ที่เลื่อนลอย เอามากๆ ๒. เพราะเรื่องนี้ ก่อนที่จะมาลงมือทำ EIA และ HIA {เพื่อเข้าไปรับสัมปทานได้โดยสมบูรณ์ตามกฎหมาย} ต้องมี การเดินสำรวจเสียก่อน การจัดหาบริษัทฯมาเดินสำรวจ และ ระยะเวลา เพื่อการสำรวจแหล่งแร่ จนเกิดความแน่ใจว่า สมควรจะลงทุน{ทางด้านผู้ ที่เข้ามา ลงทุน (ออสเตรเลีย)} กินเวลาอย่างน้อยๆ ๑๐ ปีล่วงหน้า ๓. ข้อเท็จจริงในคดี คนทั้งหลาย มักมา ตัดตอน “ตอนที่เปิดดำเนินการ คือ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ และ เข้ารับสัมปทาน จากรัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ หยิบมาเป็น “ตัวตั้ง” ซึ่ง เป็น ความคิด ที่ไม่ถูกต้อง หากมี ความคิดเช่นนี้ ๔. ในเรื่องแร่ธาตุในดิน เรา ต้องนับ เวลาถอยหลังไป เป็น ๑๐ ปี (ธรรมชาติของธุรกิจ)” ** ไม่เชื่อผมให้ ดูต่อไป ว่าสิ่งที่คสช. และ ปปช.ซึ่งเป็นองค์กร [เถื่อน] ตามกฎหมายทั้งหมด ร่วมกัน ปรุงแต่งขึ้น จะ เป็นไปได้ จริงหรือ?** ๕. ผมจึงไปยกเอาคดี ที่ศาลโลกเดิม ได้วินิจฉัยไว้ ในชื่อคดีว่า “Mavrommatis the Palestine Concessionary Case.\" ที่นับว่าใกล้เคียงกับ คดี ที่จะเกิด ในคณะอนุญาโตตุลาการ มากที่สุด (โดยเปรียบเทียบ) ควัก ออกมา ให้ศึกษากัน ๖. เมื่อรูปลักษ์ ออกมา เช่นนี้ จึงเป็น อีกครั้งที่เรา คง ต้อง สวัสดี ความเศร้า กับ ประเทศไทย ที่อุตส่าห์แถในข้อเท็จจริงทั้งหลาย จนสีข้าง เป็น แผลเลือดไหล ริน แล้ว ไม่ได้ผลอะไร? เลย ๗. นี่ไงครับ การพยายามหา ข้อต่อสู้ มาสู้ พร้อมกัน กับ การปกปิดความชั่วของ ตัวเองไปด้วย และ ในขณะเดียวกัน ก็โกหก กะล่อน ปลิ้นปล้อน ตะหลบ ตะแลง ชี้นำ พลเมืองไทย ให้หลงผิดตามไป อย่างน้อย ก็พวกสลิ่ม ส่วนหนึ่ง ที่เบาปัญญา ๘. เมื่อเรื่อง เป็นเช่นนี้ ก็ต้อง ให้คนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ในประเทศ ต้องนั่งดู กรณีพิพาทในคดีนี้ไป ในรูปแบบ “อย่าละวาง ในสายตา” แล้ว เราคง ต้อง มาดูกัน ว่า เรื่องประเด็นในคดีนี้ จะเป็นไปตาม ที่คสช. และ ปปช. ที่เป็น [องค์การเถื่อน] ต้องการ และ ยกขึ้น ต่อสู้ หรือ ๙. เรื่องในคดี ที่อยู่ในการพิจารณา และ วินิจฉัยของ คณะอนุญาโตตุลาการ จะ ดำเนินไป จนถึงที่สุด (เวลาที่ต้องให้คำวินิจฉัยโดยอนุญาโตตุลาการ คณะนั้นๆ) ว่า เขา เกาะ กุม กับ หลักการตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะ เกาะ กับหลักการตามกฎหมายของ [องค์กรเถื่อนในประเทศไทย] ๑๐. นี่คือบทสรุป ที่เรา ควร ต้องมา นั่งลง และ ทำความเข้าใจกัน พร้อมกับมีคนทั้งพวก ทั้งคณะในประเทศไทย ต้อง วิ่งหา ทองคำ มาปั๊ม เป็น “เหรียญทองคำ” พร้อมกับนำไปชำระ ค่าปรับไหม ตามที่คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มี คำสั่ง หรือ มี คำวินิจฉัยในคดีนี้ ในที่สุด. สวัสดี. Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/776414609958510605", "published": "2017-11-12T11:54:24+00:00", "source": { "content": "ปกิณะกะ จาก ความคิดแผลงๆ ในการต่อสู้คดี ที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา และ วินิจฉัยของ องค์คณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็น คณะอนุญาโตตุลาการขององค์การการค้าโลก หรือ WTO หรือ องค์คณะอนุญาโตตุลาการของคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศของ องค์การสหประชาชาติ (UNCITRAL) ในคดีที่พิพาทกันตาม(สนธิสัญญา) ข้อตกลงการค้าเสรี หรือ FTA. Free Trade Area ประเทศไทย พิพาท กับ ประเทศออสเตรเลีย ๑. การที่จะไปเที่ยวอ้างว่า มีรมต.ของ พรรคเพื่อไทย รับสินบน แล้ว จึงเข้าไปให้สัมปทานแก่ บริษัท ออสเตรเลีย เป็นเรื่อง ที่เลื่อนลอย เอามากๆ ๒. เพราะเรื่องนี้ ก่อนที่จะมาลงมือทำ EIA และ HIA {เพื่อเข้าไปรับสัมปทานได้โดยสมบูรณ์ตามกฎหมาย} ต้องมี การเดินสำรวจเสียก่อน การจัดหาบริษัทฯมาเดินสำรวจ และ ระยะเวลา เพื่อการสำรวจแหล่งแร่ จนเกิดความแน่ใจว่า สมควรจะลงทุน{ทางด้านผู้ ที่เข้ามา ลงทุน (ออสเตรเลีย)} กินเวลาอย่างน้อยๆ ๑๐ ปีล่วงหน้า ๓. ข้อเท็จจริงในคดี คนทั้งหลาย มักมา ตัดตอน “ตอนที่เปิดดำเนินการ คือ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ และ เข้ารับสัมปทาน จากรัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ หยิบมาเป็น “ตัวตั้ง” ซึ่ง เป็น ความคิด ที่ไม่ถูกต้อง หากมี ความคิดเช่นนี้ ๔. ในเรื่องแร่ธาตุในดิน เรา ต้องนับ เวลาถอยหลังไป เป็น ๑๐ ปี (ธรรมชาติของธุรกิจ)” ** ไม่เชื่อผมให้ ดูต่อไป ว่าสิ่งที่คสช. และ ปปช.ซึ่งเป็นองค์กร [เถื่อน] ตามกฎหมายทั้งหมด ร่วมกัน ปรุงแต่งขึ้น จะ เป็นไปได้ จริงหรือ?** ๕. ผมจึงไปยกเอาคดี ที่ศาลโลกเดิม ได้วินิจฉัยไว้ ในชื่อคดีว่า “Mavrommatis the Palestine Concessionary Case.\" ที่นับว่าใกล้เคียงกับ คดี ที่จะเกิด ในคณะอนุญาโตตุลาการ มากที่สุด (โดยเปรียบเทียบ) ควัก ออกมา ให้ศึกษากัน ๖. เมื่อรูปลักษ์ ออกมา เช่นนี้ จึงเป็น อีกครั้งที่เรา คง ต้อง สวัสดี ความเศร้า กับ ประเทศไทย ที่อุตส่าห์แถในข้อเท็จจริงทั้งหลาย จนสีข้าง เป็น แผลเลือดไหล ริน แล้ว ไม่ได้ผลอะไร? เลย ๗. นี่ไงครับ การพยายามหา ข้อต่อสู้ มาสู้ พร้อมกัน กับ การปกปิดความชั่วของ ตัวเองไปด้วย และ ในขณะเดียวกัน ก็โกหก กะล่อน ปลิ้นปล้อน ตะหลบ ตะแลง ชี้นำ พลเมืองไทย ให้หลงผิดตามไป อย่างน้อย ก็พวกสลิ่ม ส่วนหนึ่ง ที่เบาปัญญา ๘. เมื่อเรื่อง เป็นเช่นนี้ ก็ต้อง ให้คนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ในประเทศ ต้องนั่งดู กรณีพิพาทในคดีนี้ไป ในรูปแบบ “อย่าละวาง ในสายตา” แล้ว เราคง ต้อง มาดูกัน ว่า เรื่องประเด็นในคดีนี้ จะเป็นไปตาม ที่คสช. และ ปปช. ที่เป็น [องค์การเถื่อน] ต้องการ และ ยกขึ้น ต่อสู้ หรือ ๙. เรื่องในคดี ที่อยู่ในการพิจารณา และ วินิจฉัยของ คณะอนุญาโตตุลาการ จะ ดำเนินไป จนถึงที่สุด (เวลาที่ต้องให้คำวินิจฉัยโดยอนุญาโตตุลาการ คณะนั้นๆ) ว่า เขา เกาะ กุม กับ หลักการตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะ เกาะ กับหลักการตามกฎหมายของ [องค์กรเถื่อนในประเทศไทย] ๑๐. นี่คือบทสรุป ที่เรา ควร ต้องมา นั่งลง และ ทำความเข้าใจกัน พร้อมกับมีคนทั้งพวก ทั้งคณะในประเทศไทย ต้อง วิ่งหา ทองคำ มาปั๊ม เป็น “เหรียญทองคำ” พร้อมกับนำไปชำระ ค่าปรับไหม ตามที่คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มี คำสั่ง หรือ มี คำวินิจฉัยในคดีนี้ ในที่สุด. สวัสดี. Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:776414609958510605/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775784259213336587", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "เมื่อท่านผู้อ่านทั้งหลาย ได้ทราบว่า “ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement on Free Trade Area, FTA) ซึ่ง มี สถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา ตามความของสนธิสัญญากรุงเวียนนา ที่ว่าด้วยกฏเกณฑ์ในเรื่องสนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ในบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ข้างต้น ดังที่ได้บรรยาย ให้ทราบ แล้ว จึง ทำให้ การใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ในมาตรา ๔๔ ต้อง ขัด หรือ แย้ง กับ บทสนธิสัญญา ไม่ว่า สนธิสัญญานั้นๆ จะ เป็น สนธิสัญญากรุงเวียนนา ที่ว่าด้วย กฏเกณฑ์ในเรื่องสนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ในบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 หรือ ไปขัด หรือ แย้ง กับ ข้อตกลงการค้าเสรี ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. ๒๐๐๕ (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศออสเตรเลีย หรือ จะเรียกว่า Free Trade Area, FTA between Thailand and Australia) ยกตัวอย่างเช่น คำสั่งของ หัวหน้าคณะคสช และ คณะผู้บริหารประเทศ[เถื่อน] ทั้งหมด ในเรื่องการปิดเหมืองทองคำชาตรี หรือ เหมืองอัคราไมน์นิ่งส์ ที่จังหวัดพิจิตร ที่เป็นปัญหา ข้อขัดแย้ง อยู่ในเวลานี้ และ กำลัง นำไปสู่การวินิจฉัยชี้ขาดในปัญหา โดยคณะอนุญาโตตุลาการ ซึ่งอาจเป็นคณะอนุญาโตตุลาการในองค์การ การค้าโลก หรือ WTO หรือ คณะอนุญาโตตุลาการใน UNCITRAL ที่ลงโทษปรับไหม เป็น เงินค่าสินไหมทดแทน ต่อ ผู้กระทำละเมิด ต่อ กฏเกณฑ์ของ โลก แบบหนักหน่วงพอๆ กัน ทั้งสองคณะ และ ที่เราเรียก การกระทำเช่นนี้ ในถ้อยคำวิเคราะห์ศัพท์ทางกฎหมายระหว่างประเทศว่า “เป็นการกระทำฝ่ายเดียว หรือ the Unilateral Action” ซึ่งเป็น เรื่องต้องห้ามอย่างยิ่ง มิให้ชาติใดๆในโลกนี้ นำไปปฏิบัติ เพราะ จะเกิดความขัดแย้ง ในระหว่างชาติต่างๆ ในโลกใบนี้ และ จะหา ความสงบสุข หรือ ความสันติสุข มิได้ ๑. เมื่อคนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ของ ประเทศนี้ ไม่ ตระหนัก ในเรื่องการใช้ และ การต้องบังคับ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ในวันนี้ เรา จึงเป็น ฝ่าย ที่ต้องมาประสบกับเคราะห์กรรม ทางกฎหมาย อย่างหนักหน่วง ไม่เหมือชาติใดๆใน ASEAN หรือ ประชาคมเศรษฐกิจ ในอุษาอาคเณย์ ๒. เรา ในฐานะคนไทย ไม่เคยทราบ ไม่เคยสนใจ ในผลบังคับ ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะเรียกได้ว่า เรา คนไทย เป็น ชนชาติเดียวในอุษาอาคเณย์ ที่ไม่เคย รับรู้ ในผลของ การต้องปฏิบัติตาม กฎหมายระหว่างประเทศ เราคิดว่า เรื่อง การต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย เป็น เรื่องล้อเล่น ไม่มีผลในทางบังคับกันได้ ๓. วันนี้ เวลาอันเหมาะสม ที่จะต้อง ให้ คนไทยทั้งหลาย ต้องสั่งสอน ตัวท่านเอง จาก พฤติกรรมของจริง จึงได้เวียนมาถึง อย่างสุด จะหลีกเลี่ยง ฝ่ายที่กุมอำนาจรัฐ (ประเทศไทย) ก็ รู้ ทั้ง รู้ ว่าทุกๆสิ่ง ที่กำลังดำเนินการ อยู่ในประเทศไทย นั้น ในความเป็นจริง เป็น เรื่องจริงๆ ที่ต้องบังคับกันได้ บนเวทีโลก ตามบทบัญญัติของ กฎหมาย ๔. แต่ ฝ่ายผู้กุมอำนาจรัฐ (ประเทศไทย) ก็ ยังอด ที่จะเป็น “คนใจกล้า ขาสั่น ไม่ได้”โดยแอบหวัง “เล็กๆ” ว่า โลกทั้งใบ จะ ต้องทำ ตามใจ ตามความประสงค์ของ ฝ่ายที่เข้ากุมอำนาจรัฐ (ประเทศไทย) ได้ คิดหวัง เอาไว้ ก็ต้อง ขอเรียน ไว้ให้ รับทราบ ในหมู่พี่น้องคนไทย ผู้ใฝ่รู้ว่า สิ่งที่เขาคิดเอาไว้ เป็น เรื่องของ ความฝันกลางวันแสกๆ หรือ “The Impossible Dream” เพลงที่ Don Quixote พระเอกในภาพยนต์เรื่องนี้ ได้ขับร้อง ซึ่ง ภาพยนต์เรื่องดังกล่าว นี้ จะ ตรงกัน กับ เรื่องของภาพยนต์ ที่ฮอลลี่วู๊ด เป็น ผู้จัดสร้าง คือ เรื่อง “The Man of La Mancha” {โปรดไปดูในClip ภาพยนต์บน you tube} ๕. การที่ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศออสเตรเลีย ในเรื่อง Free Trade Area, FTA ดำรงสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty นั้น ส่งผลให้ กฎหมายระหว่างประเทศ (Classical International Law หรือ The Customary Rules of International Law รวมทั้ง The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ในบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ) มีผลบังคับประเทศไทย ในกรณี ที่พิพาทกัน ในเรื่อง เหมืองทองคำ “อัคราไมน์นิ่งส์” ชนิดเต็มรูปแบบทางกฎหมาย ไม่มีทางหลีกเลี่ยง ออก ไป เป็น อย่างอื่น ๖. ตามหลักเกณฑ์ และ หลักการของ กฎหมายระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับกันมาเป็นเวลาเกินกว่าร้อยปี หรือ หนึ่งศตวรรษ บนโลกใบนี้ นอกจาก จะมีข้อห้าม ที่เป็นข้อห้าม “รัฐ” หรือ “ประเทศ” ไม่ให้ปฏิบัติ โดยเด็ดขาด เพราะ จะทำลาย ความสันติสุข และ ความสงบสุขของ โลก ตรงตาม วัตถุประสงค์ของ กฎบัตรขององค์การสหประชาติ ในข้อที่ ๑ ถึง ข้อที่ ๔ ก็คือ “หน้าที่ในการรักษาความสงบสุข และ ความสันติสุขในโลก เป็น อำนาจหน้าที่ของ องค์การสหประชาชาติ โดยเฉพาะ ไม่ใช่ อำนาจหน้าที่ของ หัวหน้าคณะ คสช. และ บรรดาลิ่วล้อทั้งหมด ” ๗. {โปรดเข้าไปอ่าน คำปรารภ (Preamble) ของกฏบัตรองค์การสหประชาชาติ ในข้อที่ ๑ ถึง ข้อที่ ๔, ข้อตกลงสุดยอด ในการประชุมทางกฎหมาย ที่สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ ในเดือน กันยายน ๒๐๐๕ หรือ The World Summit Outcome, 2005 ที่ประมุขของ ประเทศไทย ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม และ ร่วมทำ ความตกลงด้วย ในการประชุมเที่ยวนั้น, รวมทั้ง การยอมรับในคำประกาศ ในเรื่อง Responsibility to Protect หรือ ในชื่อย่อว่า R to P ในParagraph ข้อที่ 138 และ ข้อที่ 139 ของ การประชุมครั้งดังกล่าว} ๘. ฉะนั้น การใช้อำนาจของ พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะ คสช. กับ พวกทั้งหมด “ที่ออกคำสั่งปิดเหมืองทองคำชาตรี อัคราไมน์นิ่งส์” นอกจาก จะเป็นการฝ่าฝืน ต่อตัวบท กฎหมายระหว่างประเทศ ดังกล่าวข้างต้น ที่กล่าวมาแล้ว และ ยังเป็นการกระทำที่เป็น [การกระทำฝ่ายเดียว หรือ The Unilateral Action ที่ต้องห้ามมิให้ปฏิบัติโดยเด็ดขาด] เพราะ ขัด หรือ แย้ง ต่อ กฏบัตรของ องค์การสหประชาชาติ แล้ว ยังเป็น การกระทำ ที่เป็นความผิดในทางแพ่ง และในทางอาญา ในระหว่างประเทศ ชนิดร้ายแรง หรือ Grave Breach of International Law อย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยง ๙. หากมีผู้มาสอบถามว่า การกระทำเช่นนี้ ผู้ใด? ต้องรับผิดชอบ ในผลของ การกระทำบ้าง คำตอบ ที่ตอบได้ พอสังเขป ในขณะนี้ ก็คือ “ประเทศไทย อันเป็นที่รักยิ่งของ ท่าน และ ของผม ต้องถูก ผูกพัน ให้เกิด ความรับผิดชอบ ในรูปแบบของ นามธรรม และ รูปธรรม ทางกฎหมายระหว่างประเทศ อย่างแน่นอน” ๑๐. ทั้งนี้โดยมีคดี ที่เป็นบรรทัดฐานของ โลก ที่ได้รับการตัดสินไว้โดยศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลกเดิม) หรือในชื่อภาษาอังกฤษว่า The Permanent Court of International Justice, PCIJ ในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ปี ค.ศ. 1924 ในคดีที่มีชื่อว่า “Mavrommatis the Palestine Concession case” ๑๑. [คดี Series A หมายเลขที่ 2] อันเป็น การย้ำหลักการของ กฎหมายระหว่างประเทศ หรือ The Customary Rules of International Law ว่า: “ เมื่อเกิด การละเมิด ต่อ สิทธิหน้าที่ของ ชน ในชาติใด รัฐบาล ที่ชอบด้วยกฎหมายของ ชนชาติ นั้น คน นั้น มี หน้าที่ ต้องเข้ามา เป็นโจทก์ หรือ เป็นจำเลย เพื่อแก้ต่าง หรือว่าต่าง ให้ กับ คนในชาติของ ตัว ไม่ว่าเขา ผู้นั้น จะเป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล” ๑๒. นี่จึง เป็น การประกาศ หลักการ ตามหลักเกณฑ์ของ กฎหมายระหว่างประเทศ ที่เรา เรียกขาน กัน ในหลักการ Erga Omnes แปล จากภาษาละติน ออกมา มีความหมายว่า “เป็นข้อกฎหมาย ที่รับรู้กัน โดยทั่วไป ในโลกที่เจริญแล้ว ที่ต้องบังคับ ให้รับรู้ และ รับรองกัน” อย่างที่ไม่มีทาง ที่จะเถียงไป เป็น อื่นได้ ในตอนหน้าเรา จะ มาพบกันในรายละเอียดของคดีนี้ โดยสังเขป เพื่อเปรียบเทียบกับคดี “อัคราไมน์นิ่งส์” ที่จะไปสู่การวินิจฉัยชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการ [ซึ่งอาจเป็น อนุญาโตตุลการของ WTO หรือ อนุญาโตตุลาการของ UNCITRAL คณะใดคณะหนึ่งในสองคณะนี้] ..............................(มีต่อ) Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/775784259213336587", "published": "2017-11-10T18:09:37+00:00", "source": { "content": "เมื่อท่านผู้อ่านทั้งหลาย ได้ทราบว่า “ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement on Free Trade Area, FTA) ซึ่ง มี สถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา ตามความของสนธิสัญญากรุงเวียนนา ที่ว่าด้วยกฏเกณฑ์ในเรื่องสนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ในบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ข้างต้น ดังที่ได้บรรยาย ให้ทราบ แล้ว จึง ทำให้ การใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ในมาตรา ๔๔ ต้อง ขัด หรือ แย้ง กับ บทสนธิสัญญา ไม่ว่า สนธิสัญญานั้นๆ จะ เป็น สนธิสัญญากรุงเวียนนา ที่ว่าด้วย กฏเกณฑ์ในเรื่องสนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ในบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 หรือ ไปขัด หรือ แย้ง กับ ข้อตกลงการค้าเสรี ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. ๒๐๐๕ (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศออสเตรเลีย หรือ จะเรียกว่า Free Trade Area, FTA between Thailand and Australia) ยกตัวอย่างเช่น คำสั่งของ หัวหน้าคณะคสช และ คณะผู้บริหารประเทศ[เถื่อน] ทั้งหมด ในเรื่องการปิดเหมืองทองคำชาตรี หรือ เหมืองอัคราไมน์นิ่งส์ ที่จังหวัดพิจิตร ที่เป็นปัญหา ข้อขัดแย้ง อยู่ในเวลานี้ และ กำลัง นำไปสู่การวินิจฉัยชี้ขาดในปัญหา โดยคณะอนุญาโตตุลาการ ซึ่งอาจเป็นคณะอนุญาโตตุลาการในองค์การ การค้าโลก หรือ WTO หรือ คณะอนุญาโตตุลาการใน UNCITRAL ที่ลงโทษปรับไหม เป็น เงินค่าสินไหมทดแทน ต่อ ผู้กระทำละเมิด ต่อ กฏเกณฑ์ของ โลก แบบหนักหน่วงพอๆ กัน ทั้งสองคณะ และ ที่เราเรียก การกระทำเช่นนี้ ในถ้อยคำวิเคราะห์ศัพท์ทางกฎหมายระหว่างประเทศว่า “เป็นการกระทำฝ่ายเดียว หรือ the Unilateral Action” ซึ่งเป็น เรื่องต้องห้ามอย่างยิ่ง มิให้ชาติใดๆในโลกนี้ นำไปปฏิบัติ เพราะ จะเกิดความขัดแย้ง ในระหว่างชาติต่างๆ ในโลกใบนี้ และ จะหา ความสงบสุข หรือ ความสันติสุข มิได้ ๑. เมื่อคนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ของ ประเทศนี้ ไม่ ตระหนัก ในเรื่องการใช้ และ การต้องบังคับ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ในวันนี้ เรา จึงเป็น ฝ่าย ที่ต้องมาประสบกับเคราะห์กรรม ทางกฎหมาย อย่างหนักหน่วง ไม่เหมือชาติใดๆใน ASEAN หรือ ประชาคมเศรษฐกิจ ในอุษาอาคเณย์ ๒. เรา ในฐานะคนไทย ไม่เคยทราบ ไม่เคยสนใจ ในผลบังคับ ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะเรียกได้ว่า เรา คนไทย เป็น ชนชาติเดียวในอุษาอาคเณย์ ที่ไม่เคย รับรู้ ในผลของ การต้องปฏิบัติตาม กฎหมายระหว่างประเทศ เราคิดว่า เรื่อง การต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย เป็น เรื่องล้อเล่น ไม่มีผลในทางบังคับกันได้ ๓. วันนี้ เวลาอันเหมาะสม ที่จะต้อง ให้ คนไทยทั้งหลาย ต้องสั่งสอน ตัวท่านเอง จาก พฤติกรรมของจริง จึงได้เวียนมาถึง อย่างสุด จะหลีกเลี่ยง ฝ่ายที่กุมอำนาจรัฐ (ประเทศไทย) ก็ รู้ ทั้ง รู้ ว่าทุกๆสิ่ง ที่กำลังดำเนินการ อยู่ในประเทศไทย นั้น ในความเป็นจริง เป็น เรื่องจริงๆ ที่ต้องบังคับกันได้ บนเวทีโลก ตามบทบัญญัติของ กฎหมาย ๔. แต่ ฝ่ายผู้กุมอำนาจรัฐ (ประเทศไทย) ก็ ยังอด ที่จะเป็น “คนใจกล้า ขาสั่น ไม่ได้”โดยแอบหวัง “เล็กๆ” ว่า โลกทั้งใบ จะ ต้องทำ ตามใจ ตามความประสงค์ของ ฝ่ายที่เข้ากุมอำนาจรัฐ (ประเทศไทย) ได้ คิดหวัง เอาไว้ ก็ต้อง ขอเรียน ไว้ให้ รับทราบ ในหมู่พี่น้องคนไทย ผู้ใฝ่รู้ว่า สิ่งที่เขาคิดเอาไว้ เป็น เรื่องของ ความฝันกลางวันแสกๆ หรือ “The Impossible Dream” เพลงที่ Don Quixote พระเอกในภาพยนต์เรื่องนี้ ได้ขับร้อง ซึ่ง ภาพยนต์เรื่องดังกล่าว นี้ จะ ตรงกัน กับ เรื่องของภาพยนต์ ที่ฮอลลี่วู๊ด เป็น ผู้จัดสร้าง คือ เรื่อง “The Man of La Mancha” {โปรดไปดูในClip ภาพยนต์บน you tube} ๕. การที่ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศออสเตรเลีย ในเรื่อง Free Trade Area, FTA ดำรงสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty นั้น ส่งผลให้ กฎหมายระหว่างประเทศ (Classical International Law หรือ The Customary Rules of International Law รวมทั้ง The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ในบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ) มีผลบังคับประเทศไทย ในกรณี ที่พิพาทกัน ในเรื่อง เหมืองทองคำ “อัคราไมน์นิ่งส์” ชนิดเต็มรูปแบบทางกฎหมาย ไม่มีทางหลีกเลี่ยง ออก ไป เป็น อย่างอื่น ๖. ตามหลักเกณฑ์ และ หลักการของ กฎหมายระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับกันมาเป็นเวลาเกินกว่าร้อยปี หรือ หนึ่งศตวรรษ บนโลกใบนี้ นอกจาก จะมีข้อห้าม ที่เป็นข้อห้าม “รัฐ” หรือ “ประเทศ” ไม่ให้ปฏิบัติ โดยเด็ดขาด เพราะ จะทำลาย ความสันติสุข และ ความสงบสุขของ โลก ตรงตาม วัตถุประสงค์ของ กฎบัตรขององค์การสหประชาติ ในข้อที่ ๑ ถึง ข้อที่ ๔ ก็คือ “หน้าที่ในการรักษาความสงบสุข และ ความสันติสุขในโลก เป็น อำนาจหน้าที่ของ องค์การสหประชาชาติ โดยเฉพาะ ไม่ใช่ อำนาจหน้าที่ของ หัวหน้าคณะ คสช. และ บรรดาลิ่วล้อทั้งหมด ” ๗. {โปรดเข้าไปอ่าน คำปรารภ (Preamble) ของกฏบัตรองค์การสหประชาชาติ ในข้อที่ ๑ ถึง ข้อที่ ๔, ข้อตกลงสุดยอด ในการประชุมทางกฎหมาย ที่สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ ในเดือน กันยายน ๒๐๐๕ หรือ The World Summit Outcome, 2005 ที่ประมุขของ ประเทศไทย ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม และ ร่วมทำ ความตกลงด้วย ในการประชุมเที่ยวนั้น, รวมทั้ง การยอมรับในคำประกาศ ในเรื่อง Responsibility to Protect หรือ ในชื่อย่อว่า R to P ในParagraph ข้อที่ 138 และ ข้อที่ 139 ของ การประชุมครั้งดังกล่าว} ๘. ฉะนั้น การใช้อำนาจของ พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะ คสช. กับ พวกทั้งหมด “ที่ออกคำสั่งปิดเหมืองทองคำชาตรี อัคราไมน์นิ่งส์” นอกจาก จะเป็นการฝ่าฝืน ต่อตัวบท กฎหมายระหว่างประเทศ ดังกล่าวข้างต้น ที่กล่าวมาแล้ว และ ยังเป็นการกระทำที่เป็น [การกระทำฝ่ายเดียว หรือ The Unilateral Action ที่ต้องห้ามมิให้ปฏิบัติโดยเด็ดขาด] เพราะ ขัด หรือ แย้ง ต่อ กฏบัตรของ องค์การสหประชาชาติ แล้ว ยังเป็น การกระทำ ที่เป็นความผิดในทางแพ่ง และในทางอาญา ในระหว่างประเทศ ชนิดร้ายแรง หรือ Grave Breach of International Law อย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยง ๙. หากมีผู้มาสอบถามว่า การกระทำเช่นนี้ ผู้ใด? ต้องรับผิดชอบ ในผลของ การกระทำบ้าง คำตอบ ที่ตอบได้ พอสังเขป ในขณะนี้ ก็คือ “ประเทศไทย อันเป็นที่รักยิ่งของ ท่าน และ ของผม ต้องถูก ผูกพัน ให้เกิด ความรับผิดชอบ ในรูปแบบของ นามธรรม และ รูปธรรม ทางกฎหมายระหว่างประเทศ อย่างแน่นอน” ๑๐. ทั้งนี้โดยมีคดี ที่เป็นบรรทัดฐานของ โลก ที่ได้รับการตัดสินไว้โดยศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลกเดิม) หรือในชื่อภาษาอังกฤษว่า The Permanent Court of International Justice, PCIJ ในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ปี ค.ศ. 1924 ในคดีที่มีชื่อว่า “Mavrommatis the Palestine Concession case” ๑๑. [คดี Series A หมายเลขที่ 2] อันเป็น การย้ำหลักการของ กฎหมายระหว่างประเทศ หรือ The Customary Rules of International Law ว่า: “ เมื่อเกิด การละเมิด ต่อ สิทธิหน้าที่ของ ชน ในชาติใด รัฐบาล ที่ชอบด้วยกฎหมายของ ชนชาติ นั้น คน นั้น มี หน้าที่ ต้องเข้ามา เป็นโจทก์ หรือ เป็นจำเลย เพื่อแก้ต่าง หรือว่าต่าง ให้ กับ คนในชาติของ ตัว ไม่ว่าเขา ผู้นั้น จะเป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล” ๑๒. นี่จึง เป็น การประกาศ หลักการ ตามหลักเกณฑ์ของ กฎหมายระหว่างประเทศ ที่เรา เรียกขาน กัน ในหลักการ Erga Omnes แปล จากภาษาละติน ออกมา มีความหมายว่า “เป็นข้อกฎหมาย ที่รับรู้กัน โดยทั่วไป ในโลกที่เจริญแล้ว ที่ต้องบังคับ ให้รับรู้ และ รับรองกัน” อย่างที่ไม่มีทาง ที่จะเถียงไป เป็น อื่นได้ ในตอนหน้าเรา จะ มาพบกันในรายละเอียดของคดีนี้ โดยสังเขป เพื่อเปรียบเทียบกับคดี “อัคราไมน์นิ่งส์” ที่จะไปสู่การวินิจฉัยชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการ [ซึ่งอาจเป็น อนุญาโตตุลการของ WTO หรือ อนุญาโตตุลาการของ UNCITRAL คณะใดคณะหนึ่งในสองคณะนี้] ..............................(มีต่อ) Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775784259213336587/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775432892535808001", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "วิธีเตรียมการขอลี้ภัยในเบื้องต้น! การขอลี้ภัยต้องทำอย่างไร? อนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2492 (Convention relating to the Status of Refugees) ให้คำนิยาม และความหมายของสถานภาพผู้ลี้ภัยว่า... ผู้ลี้ภัย หมายถึง : บุคคลที่จำเป็นต้องทิ้งประเทศ บ้านเกิดของตนเอง เนื่องจากความหวาดกลัว การถูกประหัตประหาร หรือได้รับการคุกคาม ต่อชีวิต เนื่องจากสาเหตุข้อหนึ่งข้อใด เช่น เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ สมาชิกภาพในกลุ่มทางสังคม สมาชิกภาพ ในกลุ่มความคิดทางการเมือง นักกฎหมายที่ทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัยในประเทศไทย อธิบายเพิ่มเติมให้ THE STANDARD ฟังว่า ใครก็ตาม ในโลกนี้สามารถยื่นคำขอ เป็นผู้ลี้ภัย ได้ทั้งหมด เพราะ การยื่นคำขอเป็นสิทธิพื้นฐาน แต่การที่ UN จะให้สถานะ \"ผู้ลี้ภัย\" กับใครนั้นมีเงื่อนไขกำหนดไว้ ตามอนุสัญญาฯ เงื่อนไขการขอลี้ภัย ต้องอยู่นอกประเทศตัวเอง จะขอลี้ภัยในประเทศตัวเองไม่ได้รัฐบาลประเทศต้นทาง ไม่สามารถคุ้มครองบุคคล คนนั้นได้บุคคลนั้น อยู่ที่ใดที่หนึ่ง ของประเทศตัวเองไม่ได้ ขณะที่ \"การลี้ภัย\" คำว่า (ภัย) ในที่นี้คือ การถูกประหัต ประหาร หรือได้รับการคุกคามต่อชีวิต ซึ่งมีที่มา 5 อย่าง ได้แก่ (1) เชื้อชาติ เช่น เป็นชนกลุ่มน้อย (2) สัญชาติ (3) ศาสนา (4) ความเห็นทางการเมือง (5) กลุ่มเฉพาะทางสังคม ซึ่งจะนิยามกว้างหน่อย อาจจะเป็นอะไรก็ได้ที่ส่งผลกระทบถึงการใช้ชีวิต เช่น บางคนเป็นโรคเจ็บป่วยร้ายแรง แล้วประเทศต้นทาง เห็นว่าเป็นโรคน่ารังเกียจสมควรตาย ก็สามารถ ใช้เงื่อนไขนี้ขอลี้ภัยได้เหมือนกัน การพิจารณา\"ขอลี้ภัย\"ต้องพิจารณาครบองค์ประกอบทั้งหมด คือ อยู่นอกประเทศ รัฐบาลคุ้มครองไม่ได้ อยู่ที่ใดที่หนึ่งในประเทศตัวเองไม่ได้ และเข้านิยาม คำว่า (ภัย) หนึ่งใน 5 ข้อข้างต้น โดยจะเข้าอันใด อันหนึ่ง หรือหลายอันก็ได้ ซึ่งถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่สามารถ กลับประเทศต้นทางได้ เพราะยังมีภัยต่อเนื่องอยู่ก็จะได้ สถานะผู้ลี้ภัย “แม้ว่าแต่ละประเทศจะมีกระบวนการพิจารณาสถานะผู้ลี้ภัยที่ต่างกัน ถ้าเป็นประเทศที่อยู่ในภาคีอนุสัญญา รัฐบาลประเทศนั้นๆ จะเป็นผู้พิจารณาเอง แต่เงื่อนไข หรือ หลักเกณฑ์การพิจารณาจะใช้เหมือนกันทั่วโลก” นักกฎหมายกล่าว กว่าจะได้สถานะ \"ผู้ลี้ภัย\" คงจะไม่ง่ายอย่างที่คิด ขั้นตอนการขอลี้ภัยการเมืองนั้น มีทั้งทางตรง และทางอ้อม กลุ่มผู้ทีขอลี้ภัยการเมืองทางตรง คือเข้ามายื่นเรื่องขอวีซ่าลี้ภัยทางการเมืองทันที (Asylum Visa) ซึ่งวีซ่าประเภทนี้ รัฐบาลของประเทศ ที่จะยื่นขอ จะต้องทำการพิสูจน์ทั้งหลักฐาน การสัมภาษณ์เจาะลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนว่า หากบุคคลที่ยื่นขอเดินทางกลับประเทศตัวเองแล้ว จะไม่ปลอดภัยถึงขั้นต้องเสียชีวิต ติดคุก หรือถูกทำร้าย หรือไม่ ขณะเดียวกัน บุคคลที่ยื่นขอจะต้องไม่เกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวพันกับการใช้ความรุนแรง เป็นสมาชิกของ กลุ่มองค์กรที่ใช้ความรุนแรง มีคดีอาชญากรรมติดตัว หากพิสูจน์ตรวจสอบด้วยพยานหลักฐานที่ชัดเจนแล้ว ก็ได้รับอนุมัติในเวลาเพียงไม่นาน ส่วนกลุ่มผู้ทีขอลี้ภัยการเมืองทางอ้อม ก็อาจจะหอบเงิน เข้ามาทำธุรกิจ ลงทุนในจำนวนเงินที่รัฐบาลประเทศนั้น ๆ กำหนด หรืออาจจะมาเป็นโรบินฮู้ดไปก่อน แล้วค่อยๆ หาช่องทางเพื่อที่จะอยู่อย่างถูกต้องตามกฎหมายต่อไป ที่กล่าวมานี้ก็เป็นเพียงข้อมูลบางส่วนในเบื้องต้นเท่านั้นคะ via: Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/775432892535808001", "published": "2017-11-09T18:53:24+00:00", "source": { "content": "วิธีเตรียมการขอลี้ภัยในเบื้องต้น! การขอลี้ภัยต้องทำอย่างไร? อนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2492 (Convention relating to the Status of Refugees) ให้คำนิยาม และความหมายของสถานภาพผู้ลี้ภัยว่า... ผู้ลี้ภัย หมายถึง : บุคคลที่จำเป็นต้องทิ้งประเทศ บ้านเกิดของตนเอง เนื่องจากความหวาดกลัว การถูกประหัตประหาร หรือได้รับการคุกคาม ต่อชีวิต เนื่องจากสาเหตุข้อหนึ่งข้อใด เช่น เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ สมาชิกภาพในกลุ่มทางสังคม สมาชิกภาพ ในกลุ่มความคิดทางการเมือง นักกฎหมายที่ทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัยในประเทศไทย อธิบายเพิ่มเติมให้ THE STANDARD ฟังว่า ใครก็ตาม ในโลกนี้สามารถยื่นคำขอ เป็นผู้ลี้ภัย ได้ทั้งหมด เพราะ การยื่นคำขอเป็นสิทธิพื้นฐาน แต่การที่ UN จะให้สถานะ \"ผู้ลี้ภัย\" กับใครนั้นมีเงื่อนไขกำหนดไว้ ตามอนุสัญญาฯ เงื่อนไขการขอลี้ภัย ต้องอยู่นอกประเทศตัวเอง จะขอลี้ภัยในประเทศตัวเองไม่ได้รัฐบาลประเทศต้นทาง ไม่สามารถคุ้มครองบุคคล คนนั้นได้บุคคลนั้น อยู่ที่ใดที่หนึ่ง ของประเทศตัวเองไม่ได้ ขณะที่ \"การลี้ภัย\" คำว่า (ภัย) ในที่นี้คือ การถูกประหัต ประหาร หรือได้รับการคุกคามต่อชีวิต ซึ่งมีที่มา 5 อย่าง ได้แก่ (1) เชื้อชาติ เช่น เป็นชนกลุ่มน้อย (2) สัญชาติ (3) ศาสนา (4) ความเห็นทางการเมือง (5) กลุ่มเฉพาะทางสังคม ซึ่งจะนิยามกว้างหน่อย อาจจะเป็นอะไรก็ได้ที่ส่งผลกระทบถึงการใช้ชีวิต เช่น บางคนเป็นโรคเจ็บป่วยร้ายแรง แล้วประเทศต้นทาง เห็นว่าเป็นโรคน่ารังเกียจสมควรตาย ก็สามารถ ใช้เงื่อนไขนี้ขอลี้ภัยได้เหมือนกัน การพิจารณา\"ขอลี้ภัย\"ต้องพิจารณาครบองค์ประกอบทั้งหมด คือ อยู่นอกประเทศ รัฐบาลคุ้มครองไม่ได้ อยู่ที่ใดที่หนึ่งในประเทศตัวเองไม่ได้ และเข้านิยาม คำว่า (ภัย) หนึ่งใน 5 ข้อข้างต้น โดยจะเข้าอันใด อันหนึ่ง หรือหลายอันก็ได้ ซึ่งถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่สามารถ กลับประเทศต้นทางได้ เพราะยังมีภัยต่อเนื่องอยู่ก็จะได้ สถานะผู้ลี้ภัย “แม้ว่าแต่ละประเทศจะมีกระบวนการพิจารณาสถานะผู้ลี้ภัยที่ต่างกัน ถ้าเป็นประเทศที่อยู่ในภาคีอนุสัญญา รัฐบาลประเทศนั้นๆ จะเป็นผู้พิจารณาเอง แต่เงื่อนไข หรือ หลักเกณฑ์การพิจารณาจะใช้เหมือนกันทั่วโลก” นักกฎหมายกล่าว กว่าจะได้สถานะ \"ผู้ลี้ภัย\" คงจะไม่ง่ายอย่างที่คิด ขั้นตอนการขอลี้ภัยการเมืองนั้น มีทั้งทางตรง และทางอ้อม กลุ่มผู้ทีขอลี้ภัยการเมืองทางตรง คือเข้ามายื่นเรื่องขอวีซ่าลี้ภัยทางการเมืองทันที (Asylum Visa) ซึ่งวีซ่าประเภทนี้ รัฐบาลของประเทศ ที่จะยื่นขอ จะต้องทำการพิสูจน์ทั้งหลักฐาน การสัมภาษณ์เจาะลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนว่า หากบุคคลที่ยื่นขอเดินทางกลับประเทศตัวเองแล้ว จะไม่ปลอดภัยถึงขั้นต้องเสียชีวิต ติดคุก หรือถูกทำร้าย หรือไม่ ขณะเดียวกัน บุคคลที่ยื่นขอจะต้องไม่เกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวพันกับการใช้ความรุนแรง เป็นสมาชิกของ กลุ่มองค์กรที่ใช้ความรุนแรง มีคดีอาชญากรรมติดตัว หากพิสูจน์ตรวจสอบด้วยพยานหลักฐานที่ชัดเจนแล้ว ก็ได้รับอนุมัติในเวลาเพียงไม่นาน ส่วนกลุ่มผู้ทีขอลี้ภัยการเมืองทางอ้อม ก็อาจจะหอบเงิน เข้ามาทำธุรกิจ ลงทุนในจำนวนเงินที่รัฐบาลประเทศนั้น ๆ กำหนด หรืออาจจะมาเป็นโรบินฮู้ดไปก่อน แล้วค่อยๆ หาช่องทางเพื่อที่จะอยู่อย่างถูกต้องตามกฎหมายต่อไป ที่กล่าวมานี้ก็เป็นเพียงข้อมูลบางส่วนในเบื้องต้นเท่านั้นคะ via: Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775432892535808001/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775377992141512722", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": " \"การเลือกตั้งแหกตาชาวโลก ภายใต้กฏกติกาโจร รัฐธรรมนูญโจร จากการสุมหัวของกลุ่มโจรทรราช\" การเลือกตั้งแหกตาชาวโลก ขอให้ประชาชน คนไทย นำบทความนี้ ไปคิดเป็น การบ้านค่ะ <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=เพราะนี่เป็นการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญโจร\" title=\"#เพราะนี่เป็นการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญโจร\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#เพราะนี่เป็นการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญโจร</a> ทรราช เป็นแผนการเลือกตั้งเพื่อพวกโจรทรราช จะใด้มีความชอบธรรม ทั้งที่ไม่คยมีความชอบธรรมใดเลยมาตั้งแต่ต้น เพื่อนำไปอ้าง กับชาวโลกใด้ นี่เป็นการเลือกตั้งภายใต้กฏกติกาโจรทรราช <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=อย่ากระสันอยากเป็นขี้ข้าทรราชจนไม่เห็นหัวประชาชน\" title=\"#อย่ากระสันอยากเป็นขี้ข้าทรราชจนไม่เห็นหัวประชาชน\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#อย่ากระสันอยากเป็นขี้ข้าทรราชจนไม่เห็นหัวประชาชน</a> ================================ มาทำความเข้าใจเรื่องการเลือกตั้งในครั้งที่จะเกิดขึ้นกันค่ะ หวังว่าโพสกระทู้นี้จะทำให้ประชาชนเข้าใจ โดยที่ดิฉันไม่ต้องมาย้ำอีก บ่อยๆนะคะ ช่วยกันกระจายข่าวนี้สู่สาธารณะชนให้มากๆด้วยค่ะ ================================ Boycot Elections - ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งภายใต้ รัฐธรรมนูญโจรทรราช ภายใต้กฏกติกาโจรทรราช <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=เปลี่ยนระบอบเพื่อการเปลี่ยนแปลง\" title=\"#เปลี่ยนระบอบเพื่อการเปลี่ยนแปลง\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#เปลี่ยนระบอบเพื่อการเปลี่ยนแปลง</a> ----------------------------------------------------------------- ดิฉันมั่นคงต่ออุดมการณ์และคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชน,ประโยชน์ของส่วนรวม,ประโยชน์ของประเทศชาติ เป็นหลักค่ะ ไม่สนับสนุนการเป็นนักการเมืองทาสเผด็จการนักการเมืองขี้ข้าโจรทรราช เลือกตั้งเข้าไปก็ทำอะไรไม่ใด้ เป็นแค่หมากรุกให้เขาเดินลูบหัวเล่นๆ ================================ การเลือกตั้งภายใต้ระบอบเผด็จการ นอกจากจะไม่เกิดประโยชน์ใดใด กับประชาชนแล้ว ยังเป็นการไปสนับสนุนเผด็จการให้เกิดมีความชอบ ธรรมอีกด้วย เพราะอย่างไรก็ยังตกอยู่ภายใต้ขั้วอำนาจเก่าอยู่เช่นเดิม นักการเมืองจึงไม่ใด้มีอำนาจหรืออภิษิตใดใด เป็นใด้เพียงหน้ากาก เป็นหุ่นเชิดและหุ่นยนต์ให้กับเผด็จการทรราชเท่านั้นฯ ================================ ดิฉันไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งภายใต้ระบอบเผด็จการทหาร หรือภายใต้รัฐธรรมนูญโจรทรราชฉบับเผด็จการทหาร ประชาชนต่อสู้กันมาอย่างยาวนาน และลำบากสูญเสียอิสละภาพ เสียเลือดเนื้อ บาดเจ็บ พิการ ล้มตายมาก็มาก หลายคนต้องหลบหนีลี้ภัย ไปอยู่ต่างประเทศ <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=แต่กลุ่มนักการเมืองที่เห็นแก่ตัวกลับจะมาตีกิน\" title=\"#แต่กลุ่มนักการเมืองที่เห็นแก่ตัวกลับจะมาตีกิน\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#แต่กลุ่มนักการเมืองที่เห็นแก่ตัวกลับจะมาตีกิน</a> เพียงเพราะต้องการตั้งพรรคการเมือง ต้องการเป็นส.ส. ต้องการเป็นนักการเมือง ต้องการอำนาจทางการเมือง แทนที่จะมาช่วยกันต่อสู้ กำจัดเผด็จการทรราช หรืออำนาจชั่วนี้ ออกไปเสียก่อน แล้วค่อยมาจัดการ การเลือกตั้งอย่างสง่างาม หากมีความจริงใจต่อประชาชนคนไทยจริงๆ ควรเป็นเช่นนั้นฯ ================================ การเลือกตั้งภายใต้ระบอบเผด็จการที่จะเกิดขึ้นนี้นั้นประชาชน จะไม่ได้อะไร เพราะอำนาจอธิปไตย ก็ยังเป็นของคนส่วนน้อย อยู่เช่นเดิม ไม่ว่าจะมีเลือกตั้ง หรือ ไม่มีเลือกตั้งก็ตาม \"การเลือกตั้งคือการคืนอำนาจให้กับประชาชน คือการหลอกเพื่อรักษาระบอบเผด็จการรัฐสภา\" \"การเลือกตั้งคือการคืนอำนาจนักการเมือง คือการรักษาระบอบเผด็จการรัฐประหาร และ รักษาระบอบเผด็จการรัฐสภา\" การเลือกตั้งในระบอบเผด็จการรัฐสภา ไม่ใช่เป็นการคืนอำนาจ ให้กับประชาชน หรือคืนอำนาจให้นักการเมือง แต่เป็นการที่ ผู้แทนของคนส่วนน้อย (พรรคปกครองหรือ ส.ส.) เปิดให้คนส่วนน้อยเจ้าของอำนาจอธิปไตย เลือกผู้แทนของเขา (พรรคปกครอง..หรือ..ส.ส.) ขึ้นมาใช ้อำนาจแทนเขาเท่านั้นเอง 1: การหลอกว่า... \"การเลือกตั้งเป็นการคืนอำนาจอธิปไตยให้ประชาชน ก็เป็นการหลอกว่าเป็น... \"ระบอบประชาธิปไตยแล้ว\" ...หรืออำนาจอธิปไตย เป็นของปวงชนแล้ว...!!! ทั้งๆ ที่โดยแท้จริงแล้ว ยังเป็นระบอบเผด็จการรัฐสภา หรืออำนาจอธิปไตย ยังเป็นของคน ส่วนน้อยอยู่เข่นเดิม 2: การหลอกว่า...\"การเลือกตั้งเป็นการคืนอำนาจให้กับนักการเมือง\" ...ก็เป็นการหลอกว่าเป็น...\"อำนาจอธิปไตยเป็นของนักการเมือง\"...แต่โดยแท้จริงแล้ว อำนาจอธิปไตยเป็นของคนส่วนน้อยอยู่เช่นเดิม ...หรือที่เรียกว่าเป็นระบอบเผด็จการรัฐสภานั่นล่ะ นักการเมืองไม่ได้ ้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ก็เท่ากับหลอกให้ประชาชนไปไล่ นักการเมืองออกไปเท่านั้น...ฯ แต่โดยแท้จริงแล้วแม้เราจะไล่นักการเมืองออกไปแล้ว หรือเว้นวรรค นักการเมือง เช่นมีการรัฐประหาร โดยคณะทหาร อำนาจอธิปไตย ก็ยังเป็นของคนส่วนน้อยอยู่ดี >> ทำให้เราหลงทาง แทนที่จะยกเลิก \"อานาจอธิปไตยของคนส่วนน้อยเสีย...\" เปลี่ยนไปเป็นอำนาจอธิปไตยของปวงชน เรากลับถูกหลอกโดยเอ็นจีโอ (NGO) บางคนว่าให้เปลี่ยนแค่นักการเมืองออกไป นักการเมืองเป็นเพียง ผู้แทนของคนส่วนน้อย ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ตัวจริงเท่านั้นฯ 3: การหลอกเช่นนี้ก็เป็นการรักษาระบอบเผด็จการรัฐสภา หรือ รักษาอำนาจอธิปไตย ของคนส่วนน้อยไว้นั่นเอง แต่ก็คล้ายๆ ว่าจะดูดีกว่า... หรือก้าวหน้ากว่า... หรือใหม่กว่า... หรือแยบยลกว่า... หรือเนียนกว่านั่นเอง 4: การหลอกของนักการเมืองที่เก่าล้าสมัย คนจับได้ไล่ทันกันแล้ว...!!! แต่ยังเป็นการหลอกให้รักษาระบอบเผด็จการรัฐประหารอีกด้วย เพราะ ต้องจัดการนักการเมืองลงจากอำนาจ แต่อำนาจก็ไปอยู่ในมือของทหาร ซึ่งเป็นคนส่วนน้อยอีกเหมือนกัน...ไม่ได้ไปถึง..\"อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน\"...แต่อย่างใดทั้งสิ้นฯ ขอฝากบทความนี้เอาใว้ด้วยนะคะ ว่านักการเมืองเลือกตั้งเข้าไปแล้ว ก็ต้องไปเป็นขี้ข้าของข้าราชการประจำอยู่ดี (หรือองค์กรอิสละมีอำนาจเหนือนายกฯ คุมนายกฯ อีกทีหนึ่ง) นักการเมืองที่ใด้รับเลือกตั้งเข้าไปแล้ว ก็ไม่ใด้มีอำนาจในการทำการ สิ่งใด ที่เป็นประโยชน์กับประชาชนใด้เลย กลับเป็นการเข้าไปทำ ให้เผด็จการทหาร มีความชอบธรรมมากขึ้น จากที่ไม่เคยมีความชอบธรรม ใดเลยต่างหาก ...!!! Cherry Caviara, Michelle Maleeblue <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a> =================================================================== via minds <a href=\"https://www.minds.com/newsfeed/721814615188578304\" target=\"_blank\">https://www.minds.com/newsfeed/721814615188578304</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/775377992141512722", "published": "2017-11-09T15:15:14+00:00", "source": { "content": " \"การเลือกตั้งแหกตาชาวโลก ภายใต้กฏกติกาโจร รัฐธรรมนูญโจร จากการสุมหัวของกลุ่มโจรทรราช\" การเลือกตั้งแหกตาชาวโลก ขอให้ประชาชน คนไทย นำบทความนี้ ไปคิดเป็น การบ้านค่ะ #เพราะนี่เป็นการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญโจร ทรราช เป็นแผนการเลือกตั้งเพื่อพวกโจรทรราช จะใด้มีความชอบธรรม ทั้งที่ไม่คยมีความชอบธรรมใดเลยมาตั้งแต่ต้น เพื่อนำไปอ้าง กับชาวโลกใด้ นี่เป็นการเลือกตั้งภายใต้กฏกติกาโจรทรราช #อย่ากระสันอยากเป็นขี้ข้าทรราชจนไม่เห็นหัวประชาชน ================================ มาทำความเข้าใจเรื่องการเลือกตั้งในครั้งที่จะเกิดขึ้นกันค่ะ หวังว่าโพสกระทู้นี้จะทำให้ประชาชนเข้าใจ โดยที่ดิฉันไม่ต้องมาย้ำอีก บ่อยๆนะคะ ช่วยกันกระจายข่าวนี้สู่สาธารณะชนให้มากๆด้วยค่ะ ================================ Boycot Elections - ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งภายใต้ รัฐธรรมนูญโจรทรราช ภายใต้กฏกติกาโจรทรราช #เปลี่ยนระบอบเพื่อการเปลี่ยนแปลง ----------------------------------------------------------------- ดิฉันมั่นคงต่ออุดมการณ์และคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชน,ประโยชน์ของส่วนรวม,ประโยชน์ของประเทศชาติ เป็นหลักค่ะ ไม่สนับสนุนการเป็นนักการเมืองทาสเผด็จการนักการเมืองขี้ข้าโจรทรราช เลือกตั้งเข้าไปก็ทำอะไรไม่ใด้ เป็นแค่หมากรุกให้เขาเดินลูบหัวเล่นๆ ================================ การเลือกตั้งภายใต้ระบอบเผด็จการ นอกจากจะไม่เกิดประโยชน์ใดใด กับประชาชนแล้ว ยังเป็นการไปสนับสนุนเผด็จการให้เกิดมีความชอบ ธรรมอีกด้วย เพราะอย่างไรก็ยังตกอยู่ภายใต้ขั้วอำนาจเก่าอยู่เช่นเดิม นักการเมืองจึงไม่ใด้มีอำนาจหรืออภิษิตใดใด เป็นใด้เพียงหน้ากาก เป็นหุ่นเชิดและหุ่นยนต์ให้กับเผด็จการทรราชเท่านั้นฯ ================================ ดิฉันไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งภายใต้ระบอบเผด็จการทหาร หรือภายใต้รัฐธรรมนูญโจรทรราชฉบับเผด็จการทหาร ประชาชนต่อสู้กันมาอย่างยาวนาน และลำบากสูญเสียอิสละภาพ เสียเลือดเนื้อ บาดเจ็บ พิการ ล้มตายมาก็มาก หลายคนต้องหลบหนีลี้ภัย ไปอยู่ต่างประเทศ #แต่กลุ่มนักการเมืองที่เห็นแก่ตัวกลับจะมาตีกิน เพียงเพราะต้องการตั้งพรรคการเมือง ต้องการเป็นส.ส. ต้องการเป็นนักการเมือง ต้องการอำนาจทางการเมือง แทนที่จะมาช่วยกันต่อสู้ กำจัดเผด็จการทรราช หรืออำนาจชั่วนี้ ออกไปเสียก่อน แล้วค่อยมาจัดการ การเลือกตั้งอย่างสง่างาม หากมีความจริงใจต่อประชาชนคนไทยจริงๆ ควรเป็นเช่นนั้นฯ ================================ การเลือกตั้งภายใต้ระบอบเผด็จการที่จะเกิดขึ้นนี้นั้นประชาชน จะไม่ได้อะไร เพราะอำนาจอธิปไตย ก็ยังเป็นของคนส่วนน้อย อยู่เช่นเดิม ไม่ว่าจะมีเลือกตั้ง หรือ ไม่มีเลือกตั้งก็ตาม \"การเลือกตั้งคือการคืนอำนาจให้กับประชาชน คือการหลอกเพื่อรักษาระบอบเผด็จการรัฐสภา\" \"การเลือกตั้งคือการคืนอำนาจนักการเมือง คือการรักษาระบอบเผด็จการรัฐประหาร และ รักษาระบอบเผด็จการรัฐสภา\" การเลือกตั้งในระบอบเผด็จการรัฐสภา ไม่ใช่เป็นการคืนอำนาจ ให้กับประชาชน หรือคืนอำนาจให้นักการเมือง แต่เป็นการที่ ผู้แทนของคนส่วนน้อย (พรรคปกครองหรือ ส.ส.) เปิดให้คนส่วนน้อยเจ้าของอำนาจอธิปไตย เลือกผู้แทนของเขา (พรรคปกครอง..หรือ..ส.ส.) ขึ้นมาใช ้อำนาจแทนเขาเท่านั้นเอง 1: การหลอกว่า... \"การเลือกตั้งเป็นการคืนอำนาจอธิปไตยให้ประชาชน ก็เป็นการหลอกว่าเป็น... \"ระบอบประชาธิปไตยแล้ว\" ...หรืออำนาจอธิปไตย เป็นของปวงชนแล้ว...!!! ทั้งๆ ที่โดยแท้จริงแล้ว ยังเป็นระบอบเผด็จการรัฐสภา หรืออำนาจอธิปไตย ยังเป็นของคน ส่วนน้อยอยู่เข่นเดิม 2: การหลอกว่า...\"การเลือกตั้งเป็นการคืนอำนาจให้กับนักการเมือง\" ...ก็เป็นการหลอกว่าเป็น...\"อำนาจอธิปไตยเป็นของนักการเมือง\"...แต่โดยแท้จริงแล้ว อำนาจอธิปไตยเป็นของคนส่วนน้อยอยู่เช่นเดิม ...หรือที่เรียกว่าเป็นระบอบเผด็จการรัฐสภานั่นล่ะ นักการเมืองไม่ได้ ้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ก็เท่ากับหลอกให้ประชาชนไปไล่ นักการเมืองออกไปเท่านั้น...ฯ แต่โดยแท้จริงแล้วแม้เราจะไล่นักการเมืองออกไปแล้ว หรือเว้นวรรค นักการเมือง เช่นมีการรัฐประหาร โดยคณะทหาร อำนาจอธิปไตย ก็ยังเป็นของคนส่วนน้อยอยู่ดี >> ทำให้เราหลงทาง แทนที่จะยกเลิก \"อานาจอธิปไตยของคนส่วนน้อยเสีย...\" เปลี่ยนไปเป็นอำนาจอธิปไตยของปวงชน เรากลับถูกหลอกโดยเอ็นจีโอ (NGO) บางคนว่าให้เปลี่ยนแค่นักการเมืองออกไป นักการเมืองเป็นเพียง ผู้แทนของคนส่วนน้อย ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ตัวจริงเท่านั้นฯ 3: การหลอกเช่นนี้ก็เป็นการรักษาระบอบเผด็จการรัฐสภา หรือ รักษาอำนาจอธิปไตย ของคนส่วนน้อยไว้นั่นเอง แต่ก็คล้ายๆ ว่าจะดูดีกว่า... หรือก้าวหน้ากว่า... หรือใหม่กว่า... หรือแยบยลกว่า... หรือเนียนกว่านั่นเอง 4: การหลอกของนักการเมืองที่เก่าล้าสมัย คนจับได้ไล่ทันกันแล้ว...!!! แต่ยังเป็นการหลอกให้รักษาระบอบเผด็จการรัฐประหารอีกด้วย เพราะ ต้องจัดการนักการเมืองลงจากอำนาจ แต่อำนาจก็ไปอยู่ในมือของทหาร ซึ่งเป็นคนส่วนน้อยอีกเหมือนกัน...ไม่ได้ไปถึง..\"อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน\"...แต่อย่างใดทั้งสิ้นฯ ขอฝากบทความนี้เอาใว้ด้วยนะคะ ว่านักการเมืองเลือกตั้งเข้าไปแล้ว ก็ต้องไปเป็นขี้ข้าของข้าราชการประจำอยู่ดี (หรือองค์กรอิสละมีอำนาจเหนือนายกฯ คุมนายกฯ อีกทีหนึ่ง) นักการเมืองที่ใด้รับเลือกตั้งเข้าไปแล้ว ก็ไม่ใด้มีอำนาจในการทำการ สิ่งใด ที่เป็นประโยชน์กับประชาชนใด้เลย กลับเป็นการเข้าไปทำ ให้เผด็จการทหาร มีความชอบธรรมมากขึ้น จากที่ไม่เคยมีความชอบธรรม ใดเลยต่างหาก ...!!! Cherry Caviara, Michelle Maleeblue @MaleeblueNews09 =================================================================== via minds https://www.minds.com/newsfeed/721814615188578304", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775377992141512722/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775349557390221315", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "ก่อนการบังคับใช้บทบัญญัติที่ 912 ของข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับ ที่ว่านั้น ผู้ฟัง หรือ ผู้อ่านทั้งหลาย ควร ต้องมี ความรู้ ในวิชาการกฎหมายระหว่างประเทศ ให้ ต้องจดจำ กลไก ในกฎหมายระหว่างประเทศ ให้เข้าใจเสียก่อนโดยถ่องแท้ว่า การ ที่เราทั้งหลาย ต้องการทราบ ผลสุดท้ายในคดี ที่พิพาท ในคดีนี้ จากคณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็น อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศของ องค์การการค้าโลก หรือ World Trade Organization, WTO ที่วางมาตรการในค่าปรับ ที่ปรับอย่างรุนแรง สำหรับผู้ ที่ละเมิดข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ คณะอนุญาโตตุลาการของ UNCITRAL หรือ คณะกรรมาธิการของ องค์การสหประชาชาติ ที่ว่าด้วย กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ หรือ The United Nations Commission on International Trade Law ที่ก็ มีมาตรการปรับค่อนข้างรุนแรง ต่อผู้ ที่ละเมิดข้อตกลงในระหว่างประเทศนี้ เช่นกัน ๑. ผู้เขียนบทความนี้ จึง เห็นควร นำ พี่น้องคนไทย ที่เป็นผู้อ่านทั้งหลาย ไปสู่การที่ต้อง ไปวินิจฉัย ในลำดับแรก เสียก่อนว่า ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะใด? ในกฎหมายระหว่างประเทศ เป็นข้อตกลงในระหว่างประเทศ ที่มีสถานะ เป็น สนธิสัญญา หรือ มีสถานะ “เป็น เยี่ยงสนธิสัญญา” จริงหรือไม่? ๒. เมื่อจะต้องอธิบายว่า ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะใด? ในกฎหมายระหว่างประเทศ นั้น มี ความจำเป็น ที่ต้องหารือ ข้อกฎหมายจาก The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ๓. สนธิสัญญาแห่งกรุงเวียนนา ที่เกี่ยวกับ กฏเกณฑ์ของ กฎหมายเกี่ยวกับสนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 มี สถานะในตัวเอง เป็น “สนธิสัญญา” หรือ เป็น “กฏเกณฑ์ ที่เกียวกับ ตัวกฎหมาย ที่ใช้บังคับ กับ สนธิสัญญา, การทำสนธิสัญญา, การสิ้นผลของ สนธิสัญญา, การบังคับตาม สนธิสัญญา, การบอกเลิก หรือ การยกเลิก บทบัญญัติของ สนธิสัญญาฯลฯ เป็นต้น ๔. สนธิสัญญาฉบับนี้ เป็น กฎหมาย ที่ใช้บังคับ และ เกี่ยวข้องกับ กฎหมายระหว่างประเทศ ในเรื่องสนธิสัญญาทั้งหลาย ในระหว่าง “รัฐ” (States) สนธิสัญญาฉบับนี้ ได้ ถูกประกาศ และ บังคับใช้ โดยองค์การสหประชาชาติ ในวันที่ 23 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1969 โดยเปิดให้ชาติคู่ภาคีสมาชิก เข้า ร่วม ลงนามในวันเดียวกันกับ ที่ประกาศ และ บังคับใช้ สนธิสัญญาฉบับนี้ ให้ผล บังคับ ในวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 1980 ในขณะนี้สนธิสัญญาฉบับนี้ มีชาติคู่ภาคีสมาชิกราว 115 ชาติ (นับแต่เดือน พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 2017 ๕. เมื่อมีกฎหมายระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับกันอยู่ ในเรื่อง กฎหมาย ที่เกี่ยวกับ บรรดาสนธิสัญญาทั้งหลาย (Law on Treaties) เมื่อเรา ต้องการทราบว่า ข้อข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือInternational Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะเป็น สนธิสัญญา หรือไม่? จึงจำเป็น ต้องพลิกไปดูบทบัญญัติที่ ๑ และ บทบัญญัติที่ ๒ (ก) ของสนธิสัญญาฉบับนี้ ที่อธิบายไว้อย่างกระจ่างชัดดังต่อไปนี้: ๖. บทบัญญัติที่ 1 ของสนธิสัญญา กรุงเวียนนา ว่าด้วย กฏเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับ กฎ หมาย เกี่ยวกับ สนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 บัญญัติว่า: Article 1{บทบัญญัติที่1} Scope of the present Convention ขอบเขตของการบังคับใช้สนธิสัญญาฉบับนี้ The present Convention applies to treaties between States. สนธิสัญญาฉบับนี้ ใช้บังคับ กับ บรรดาสนธิสัญญา ทั้งหลาย ที่เกี่ยวข้องกัน กับ รัฐทั้งหลายในโลก. ๗. บทบัญญัติที่ 2 {Article 2} Use of terms การวิเคราะห์ศัพท์ 1. “For the purposes of the present Convention: เพื่อประโยชน์ อันเป็น จุดมุ่งประสงค์(หมาย) ของ สนธิสัญญาในฉบับนี้ (a) “treaty” means an international agreement concluded between States in written form and governed by international law, whether embodied in a single instrument or in two or more related instruments and whatever its particular designation;” (ก) “สนธิสัญญา” ให้หมายถึงข้อตกลงในระหว่างประเทศ ที่ตกลงกันในระหว่างรัฐทั้งหลาย ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่อยู่ภายใต้บังคับของ กฎหมายระหว่างประเทศ, ไม่ว่าจะบรรจุอยู่ในเอกสารฉบับเดียว หรือในจำนวนสองฉบับ หรือ มากกว่านั้น ที่เป็นเอกสาร ที่เชื่อมโยงถึงกัน และ ไม่ว่าจะมีเจตนา อันเป็นพิเศษโดยเฉพาะ อย่างใดอย่างหนึ่ง;” ๘. เมื่อท่านผู้อ่าน ได้อ่านบทความนี้แล้ว จึงสามารถสรุปได้โดยทันทีตามบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ของสนธิสัญญา กรุงเวียนนา ว่าด้วย กฏเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับ กฎ หมาย เกี่ยวกับ สนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ว่า: ๙. ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะ เป็น สนธิสัญญา โดยแน่ชัด ไม่อาจเถียงได้ เป็นอย่างอื่น เพราะ สนธิสัญญา กรุงเวียนนา ว่าด้วย กฏเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับ กฎหมาย เกี่ยวกับ สนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 บทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ข้างต้น บัญญัติให้เป็นเช่นนั้น ๑๐. *** หมายเหตุ*** ตราบเท่าที่ เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ประเทศไทยของ เรา ยังไม่ยอม ให้สัตยาบัน หรือ ประกาศ เข้าร่วมอยู่ ภายใต้ สนธิสัญญาฉบับดังกล่าว นี้ แต่สนธิสัญญาฉบับที่ว่า นี้ ผ่าน การบังคับใช้มามากกว่า ครึ่งศตวรรษ (ห้าสิบปี) มี สถานภาพบังคับ กับ ประเทศไทยได้ ในฐานะ ที่เป็น “กฎหมายที่เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียม ปฏิบัติ ในระหว่างประเทศ หรือ The Customary Rules of International Law” ** เมื่อได้ทราบถึงสถานภาพของ ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 ซึ่งมีสถานะ เป็น สนธิสัญญา แล้ว เรา จะมาว่ากันถึง หลักเกณฑ์ของ การบังคับใช้ หลักกฎหมาย ที่เกี่ยวกับ”สนธิสัญญา” ในฐานะที่ [ข้อตกลงนี้ มี สถานภาพ เป็น “สนธิสัญญา”] ย่อมไม่อยู่ ภายใต้บังคับของ บทบญญัติ กฎหมายภายในของ รัฐใดๆ หรือ กฎหมายรัฐธรรมนูญของ รัฐทั้งหลาย ไม่ว่า จะเป็น รัฐคู่ภาคีของ สนธิสัญญาฉบับ ที่เป็น ชนวนเหตุ ให้เกิดปัญหา? หรือไม่? อย่างไร? โดยละเอียด................ (มีต่อ)<br /><br />Thanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a><br />", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/775349557390221315", "published": "2017-11-09T13:22:16+00:00", "source": { "content": "ก่อนการบังคับใช้บทบัญญัติที่ 912 ของข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับ ที่ว่านั้น ผู้ฟัง หรือ ผู้อ่านทั้งหลาย ควร ต้องมี ความรู้ ในวิชาการกฎหมายระหว่างประเทศ ให้ ต้องจดจำ กลไก ในกฎหมายระหว่างประเทศ ให้เข้าใจเสียก่อนโดยถ่องแท้ว่า การ ที่เราทั้งหลาย ต้องการทราบ ผลสุดท้ายในคดี ที่พิพาท ในคดีนี้ จากคณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งอาจเป็น อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศของ องค์การการค้าโลก หรือ World Trade Organization, WTO ที่วางมาตรการในค่าปรับ ที่ปรับอย่างรุนแรง สำหรับผู้ ที่ละเมิดข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ คณะอนุญาโตตุลาการของ UNCITRAL หรือ คณะกรรมาธิการของ องค์การสหประชาชาติ ที่ว่าด้วย กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ หรือ The United Nations Commission on International Trade Law ที่ก็ มีมาตรการปรับค่อนข้างรุนแรง ต่อผู้ ที่ละเมิดข้อตกลงในระหว่างประเทศนี้ เช่นกัน ๑. ผู้เขียนบทความนี้ จึง เห็นควร นำ พี่น้องคนไทย ที่เป็นผู้อ่านทั้งหลาย ไปสู่การที่ต้อง ไปวินิจฉัย ในลำดับแรก เสียก่อนว่า ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะใด? ในกฎหมายระหว่างประเทศ เป็นข้อตกลงในระหว่างประเทศ ที่มีสถานะ เป็น สนธิสัญญา หรือ มีสถานะ “เป็น เยี่ยงสนธิสัญญา” จริงหรือไม่? ๒. เมื่อจะต้องอธิบายว่า ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะใด? ในกฎหมายระหว่างประเทศ นั้น มี ความจำเป็น ที่ต้องหารือ ข้อกฎหมายจาก The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ๓. สนธิสัญญาแห่งกรุงเวียนนา ที่เกี่ยวกับ กฏเกณฑ์ของ กฎหมายเกี่ยวกับสนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 มี สถานะในตัวเอง เป็น “สนธิสัญญา” หรือ เป็น “กฏเกณฑ์ ที่เกียวกับ ตัวกฎหมาย ที่ใช้บังคับ กับ สนธิสัญญา, การทำสนธิสัญญา, การสิ้นผลของ สนธิสัญญา, การบังคับตาม สนธิสัญญา, การบอกเลิก หรือ การยกเลิก บทบัญญัติของ สนธิสัญญาฯลฯ เป็นต้น ๔. สนธิสัญญาฉบับนี้ เป็น กฎหมาย ที่ใช้บังคับ และ เกี่ยวข้องกับ กฎหมายระหว่างประเทศ ในเรื่องสนธิสัญญาทั้งหลาย ในระหว่าง “รัฐ” (States) สนธิสัญญาฉบับนี้ ได้ ถูกประกาศ และ บังคับใช้ โดยองค์การสหประชาชาติ ในวันที่ 23 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1969 โดยเปิดให้ชาติคู่ภาคีสมาชิก เข้า ร่วม ลงนามในวันเดียวกันกับ ที่ประกาศ และ บังคับใช้ สนธิสัญญาฉบับนี้ ให้ผล บังคับ ในวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 1980 ในขณะนี้สนธิสัญญาฉบับนี้ มีชาติคู่ภาคีสมาชิกราว 115 ชาติ (นับแต่เดือน พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 2017 ๕. เมื่อมีกฎหมายระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับกันอยู่ ในเรื่อง กฎหมาย ที่เกี่ยวกับ บรรดาสนธิสัญญาทั้งหลาย (Law on Treaties) เมื่อเรา ต้องการทราบว่า ข้อข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือInternational Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะเป็น สนธิสัญญา หรือไม่? จึงจำเป็น ต้องพลิกไปดูบทบัญญัติที่ ๑ และ บทบัญญัติที่ ๒ (ก) ของสนธิสัญญาฉบับนี้ ที่อธิบายไว้อย่างกระจ่างชัดดังต่อไปนี้: ๖. บทบัญญัติที่ 1 ของสนธิสัญญา กรุงเวียนนา ว่าด้วย กฏเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับ กฎ หมาย เกี่ยวกับ สนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 บัญญัติว่า: Article 1{บทบัญญัติที่1} Scope of the present Convention ขอบเขตของการบังคับใช้สนธิสัญญาฉบับนี้ The present Convention applies to treaties between States. สนธิสัญญาฉบับนี้ ใช้บังคับ กับ บรรดาสนธิสัญญา ทั้งหลาย ที่เกี่ยวข้องกัน กับ รัฐทั้งหลายในโลก. ๗. บทบัญญัติที่ 2 {Article 2} Use of terms การวิเคราะห์ศัพท์ 1. “For the purposes of the present Convention: เพื่อประโยชน์ อันเป็น จุดมุ่งประสงค์(หมาย) ของ สนธิสัญญาในฉบับนี้ (a) “treaty” means an international agreement concluded between States in written form and governed by international law, whether embodied in a single instrument or in two or more related instruments and whatever its particular designation;” (ก) “สนธิสัญญา” ให้หมายถึงข้อตกลงในระหว่างประเทศ ที่ตกลงกันในระหว่างรัฐทั้งหลาย ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่อยู่ภายใต้บังคับของ กฎหมายระหว่างประเทศ, ไม่ว่าจะบรรจุอยู่ในเอกสารฉบับเดียว หรือในจำนวนสองฉบับ หรือ มากกว่านั้น ที่เป็นเอกสาร ที่เชื่อมโยงถึงกัน และ ไม่ว่าจะมีเจตนา อันเป็นพิเศษโดยเฉพาะ อย่างใดอย่างหนึ่ง;” ๘. เมื่อท่านผู้อ่าน ได้อ่านบทความนี้แล้ว จึงสามารถสรุปได้โดยทันทีตามบทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ของสนธิสัญญา กรุงเวียนนา ว่าด้วย กฏเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับ กฎ หมาย เกี่ยวกับ สนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 ว่า: ๙. ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 มีสถานะ เป็น สนธิสัญญา โดยแน่ชัด ไม่อาจเถียงได้ เป็นอย่างอื่น เพราะ สนธิสัญญา กรุงเวียนนา ว่าด้วย กฏเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับ กฎหมาย เกี่ยวกับ สนธิสัญญา ปี ค.ศ. 1969 หรือ The Vienna Convention on the Law of Treaties (VCLT), 1969 บทบัญญัติที่ 1 และ บทบัญญัติที่ 2 ข้างต้น บัญญัติให้เป็นเช่นนั้น ๑๐. *** หมายเหตุ*** ตราบเท่าที่ เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ประเทศไทยของ เรา ยังไม่ยอม ให้สัตยาบัน หรือ ประกาศ เข้าร่วมอยู่ ภายใต้ สนธิสัญญาฉบับดังกล่าว นี้ แต่สนธิสัญญาฉบับที่ว่า นี้ ผ่าน การบังคับใช้มามากกว่า ครึ่งศตวรรษ (ห้าสิบปี) มี สถานภาพบังคับ กับ ประเทศไทยได้ ในฐานะ ที่เป็น “กฎหมายที่เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียม ปฏิบัติ ในระหว่างประเทศ หรือ The Customary Rules of International Law” ** เมื่อได้ทราบถึงสถานภาพของ ข้อตกลงการค้าเสรี (ข้อตกลงในระหว่างประเทศ หรือ International Agreement ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศ เป็น สนธิสัญญา หรือ Treaty) หรือ FTA หรือ Free Trade Area ในระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศอออสเตรเลีย ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2005 ซึ่งมีสถานะ เป็น สนธิสัญญา แล้ว เรา จะมาว่ากันถึง หลักเกณฑ์ของ การบังคับใช้ หลักกฎหมาย ที่เกี่ยวกับ”สนธิสัญญา” ในฐานะที่ [ข้อตกลงนี้ มี สถานภาพ เป็น “สนธิสัญญา”] ย่อมไม่อยู่ ภายใต้บังคับของ บทบญญัติ กฎหมายภายในของ รัฐใดๆ หรือ กฎหมายรัฐธรรมนูญของ รัฐทั้งหลาย ไม่ว่า จะเป็น รัฐคู่ภาคีของ สนธิสัญญาฉบับ ที่เป็น ชนวนเหตุ ให้เกิดปัญหา? หรือไม่? อย่างไร? โดยละเอียด................ (มีต่อ)\n\nThanaboon Chiranuvat, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09\n", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775349557390221315/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775320738264522766", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ ------------------ วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงจาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=ระบอบเผด็จการทหารทรราช\" title=\"#ระบอบเผด็จการทหารทรราช\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#ระบอบเผด็จการทหารทรราช</a> - ระบอบเผด็จการที่คณะผู้นำฝ่ายทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ในการปกครอง โดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึก หรือ รัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักจะใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศ เป็นการชั่วคราว ระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือหลังจาก ล้มเลิกระบอบประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดภัยคุกคาม บางอย่างต่อความมั่นคงของรัฐ ส่วนมากแล้วเมื่อเหตุการณ์ความวุ่นวาย ต่าง ๆ สงบลง คณะผู้นำทางทหารก็มักจะอ้างสาเหตุต่าง ๆ นานาเพื่อ ยึดอำนาจการปกครองประเทศต่อไปอีก ไม่ยอมที่จะคืนอำนาจกลับมา ให้ประชาชนโดยง่าย ดังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเวลานี้ ในปัจจุบันนี้เป็นต้น แต่ทว่าเมื่อเวลายิ่งผ่านเนิ่นนานออกไป กระแสความไม่พอใจ ในหมู่ประชาชนรวมทั้งแรงกดดันจากนานาชาติ ก็จะทำให้คณะผู้นำ ทางทหารกุมอำนาจการปกครองไว้ไม่ได้ ในที่สุดก็จำเป็นต้องคืนอำนาจ ให้ประชาน แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ สำหรับประเทศไทย คงจะอีกนานโข แต่ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย มีการต่อสู้ระหว่างกำลังของ ประชาชนกับกำลังของรัฐบาลเผด็จการทหาร ซึ่งจากประวัติศาสตร์ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ในการปกครองที่ผ่านมา มักจะจบลง โดยชัยชนะเป็นของฝ่ายประชาชนเช่นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่โรมาเนีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองแบบเผด็จการทหาร เช่น การปกครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นระยะที่ พลเอกโตโจและคณะนายทหารใช้อำนาจเผด็จการในการปกครอง หรือการปกครองของไทยระหว่างที่ไม่มีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม 2501 ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2511 อำนาจการปกครองประเทศ ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะปฏิวัติ ซึ่งนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ส่วนในปัจจุบัน(พ.ศ. 2541) ก็มี เช่น การปกครองของสหภาพพม่าภายใต้การนำของพลเอกตาน ส่วย เป็นต้น หลักการของระบอบเผด็จการ 1.ผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือของพรรคการเมือง เพียงกลุ่มเดียวมีอำนาจสูงสุด และสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำ มีความสำคัญกว่าการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะ วิพากษ์ วิจารณ์ การกระทำของผู้นำเผด็จการอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนาน เท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไป ไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ที่เผด็จการเขียนขึ้นเองเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเอง รัฐสภาไม่มี ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครอง เหมือน ในระบอบ ประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐาน รองรับอำนาจ ของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น ส่วนการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทน ที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัคร ที่ผู้นำหรือคณะผู้นำ ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกัน รัฐสภาก็จะประชุมกัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำ หรือคณะผู้นำทำการ ปกครองต่อไป ตามที่ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำเห็นสมควร ข้อดีและข้อเสีย ของระบอบเผด็จการ ข้อดีของระบอบเผด็จการ ก็แน่ล่ะซิ กฏกติกาโจรกบฏทรราช ย่อมดีกับเผด็จการ 1.รัฐบาล(เถื่อน)สามารถตัดสินใจทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว กว่ารัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย เช่น สามารถออกกฎหมายมา ใช้บังคับ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยไม่ต้องขอ ความเห็นชอบจาก เสียงข้างมากในรัฐสภา(ถ่อย) ทั้งนี้ก็เพราะผู้นำ หรือคณะรัฐมนตรีมักจะได้ รับมอบอำนาจจากรัฐสภาไว้ล่วงหน้า ให้ออกกฎหมา....ยหรือระเบียบข้อบังคับบางอย่างได้เองตามอำเภอใจ 2.แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผล (สำหรับพวกเผด็จการ) กว่าระบอบประชาธิปไตย เช่น สั่งการปราบการจลาจล การก่ออาชญากรรม และการก่อการร้าย ต่าง ๆ ได้อย่างเฉียบขาด มากกว่า โดยไม่จำต้องเกรงว่าจะเกินอำนาจ ที่กฎหมา...ยให้ไว้ เนื่องจากศาลในระบอบเผด็จการ (ขี้ข้ารับคำสั่งจากเผด็จการ) ไม่ได้มีความเป็นอิสระ ในการพิจารณาคดี เหมือนในระบอบ ประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบเผด็จการ แน่นอนข้อเสียเยอมากทีเดียว 1.เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว ซึ่งย่อมจะมีการ ผิดพลาด และใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดย ไม่มีใครรู้หรือกล้าคัดค้าน 2.มีการใช้อำนาจเผด็จการกดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภาพ รวมทั้ง ประทุษร้ายต่อชีวิตของคนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครอง 3.ทำให้คนดีมีความสามารถที่ไม่ใช่พวกพ้อง หรือผู้สนับสนุน กลุ่มผู้ปกครองไม่มีโอกาสดำรงตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง 4.ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขาดสิทธิเสรีภาพ ย่อมจะไม่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่และอาจพยายามต่อต้าน อยู่เงียบ ๆ หรือมิฉะนั้นบางคนก็อาจจะหลบหนีไปอยู่ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นพวกปัญญาชน ทำให้ประเทศชาติ ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ 5. อาจนำประเทศชาติไปสู่ความพินาศได้ เหมือนดังฮิตเลอร์ได้นำ ประเทศเยอรมนี หรือพลเอกโตโจได้นำประเทศญี่ปุ่น เข้าสู่สงคราม โลกครั้งที่ 2 ซึ่งผลปรากฏว่าทั้งสองประเทศประสบความพินาศ อย่างย่อยยับ หรือตัวอย่างเหตุการณ์ที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เห่งอิรัค ได้ส่งกำลังทหารเข้ายึดครองประเทศคูเวต และไม่ยอมถอนตัว ออกไปตามมติขององค์การสหประชาชาติ จนกองกำลังนานาชาติ ต้องเปิดฉากทำสงครามกับอิรักเพื่อปลดปล่อยคูเวต และผลสุดท้าย อิรักก็เป็นฝ่ายปราชัยอย่างย่อยยับ ทำให้ประชาชนชาวอิรักต้องประสบ ความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การพัฒนา ประเทศหยุดชะงัก ทั้งนี้เป็นเพราะการตัดสินใจผิดพลาดของผู้นำ เพียงคนเดียว วัตถุประสงค์หลัก เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลง จาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ อย่างไร ย่อมขึ้นกับการนำทางแนวคิดทฤษฎีและแนวทาง การเมืองของขบวนการ นี่เป็นเพียงตัวอย่างในเบื้องต้นเท่านั้น ที่นำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ ซึ่งเข้ากับบรรยากาศในประเทศไทยเวลานี้ พี่น้องประชาชน เมื่อใด้อ่านบทความนี้แล้ว ท่านรู้สึกอย่างไร ????? Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/775320738264522766", "published": "2017-11-09T11:27:36+00:00", "source": { "content": "ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ ------------------ วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงจาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย #ระบอบเผด็จการทหารทรราช - ระบอบเผด็จการที่คณะผู้นำฝ่ายทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ในการปกครอง โดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึก หรือ รัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักจะใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศ เป็นการชั่วคราว ระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือหลังจาก ล้มเลิกระบอบประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดภัยคุกคาม บางอย่างต่อความมั่นคงของรัฐ ส่วนมากแล้วเมื่อเหตุการณ์ความวุ่นวาย ต่าง ๆ สงบลง คณะผู้นำทางทหารก็มักจะอ้างสาเหตุต่าง ๆ นานาเพื่อ ยึดอำนาจการปกครองประเทศต่อไปอีก ไม่ยอมที่จะคืนอำนาจกลับมา ให้ประชาชนโดยง่าย ดังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเวลานี้ ในปัจจุบันนี้เป็นต้น แต่ทว่าเมื่อเวลายิ่งผ่านเนิ่นนานออกไป กระแสความไม่พอใจ ในหมู่ประชาชนรวมทั้งแรงกดดันจากนานาชาติ ก็จะทำให้คณะผู้นำ ทางทหารกุมอำนาจการปกครองไว้ไม่ได้ ในที่สุดก็จำเป็นต้องคืนอำนาจ ให้ประชาน แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ สำหรับประเทศไทย คงจะอีกนานโข แต่ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย มีการต่อสู้ระหว่างกำลังของ ประชาชนกับกำลังของรัฐบาลเผด็จการทหาร ซึ่งจากประวัติศาสตร์ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ในการปกครองที่ผ่านมา มักจะจบลง โดยชัยชนะเป็นของฝ่ายประชาชนเช่นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่โรมาเนีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองแบบเผด็จการทหาร เช่น การปกครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นระยะที่ พลเอกโตโจและคณะนายทหารใช้อำนาจเผด็จการในการปกครอง หรือการปกครองของไทยระหว่างที่ไม่มีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม 2501 ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2511 อำนาจการปกครองประเทศ ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะปฏิวัติ ซึ่งนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ส่วนในปัจจุบัน(พ.ศ. 2541) ก็มี เช่น การปกครองของสหภาพพม่าภายใต้การนำของพลเอกตาน ส่วย เป็นต้น หลักการของระบอบเผด็จการ 1.ผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือของพรรคการเมือง เพียงกลุ่มเดียวมีอำนาจสูงสุด และสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำ มีความสำคัญกว่าการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะ วิพากษ์ วิจารณ์ การกระทำของผู้นำเผด็จการอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนาน เท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไป ไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ที่เผด็จการเขียนขึ้นเองเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเอง รัฐสภาไม่มี ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครอง เหมือน ในระบอบ ประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐาน รองรับอำนาจ ของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น ส่วนการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทน ที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัคร ที่ผู้นำหรือคณะผู้นำ ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกัน รัฐสภาก็จะประชุมกัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำ หรือคณะผู้นำทำการ ปกครองต่อไป ตามที่ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำเห็นสมควร ข้อดีและข้อเสีย ของระบอบเผด็จการ ข้อดีของระบอบเผด็จการ ก็แน่ล่ะซิ กฏกติกาโจรกบฏทรราช ย่อมดีกับเผด็จการ 1.รัฐบาล(เถื่อน)สามารถตัดสินใจทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว กว่ารัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย เช่น สามารถออกกฎหมายมา ใช้บังคับ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยไม่ต้องขอ ความเห็นชอบจาก เสียงข้างมากในรัฐสภา(ถ่อย) ทั้งนี้ก็เพราะผู้นำ หรือคณะรัฐมนตรีมักจะได้ รับมอบอำนาจจากรัฐสภาไว้ล่วงหน้า ให้ออกกฎหมา....ยหรือระเบียบข้อบังคับบางอย่างได้เองตามอำเภอใจ 2.แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผล (สำหรับพวกเผด็จการ) กว่าระบอบประชาธิปไตย เช่น สั่งการปราบการจลาจล การก่ออาชญากรรม และการก่อการร้าย ต่าง ๆ ได้อย่างเฉียบขาด มากกว่า โดยไม่จำต้องเกรงว่าจะเกินอำนาจ ที่กฎหมา...ยให้ไว้ เนื่องจากศาลในระบอบเผด็จการ (ขี้ข้ารับคำสั่งจากเผด็จการ) ไม่ได้มีความเป็นอิสระ ในการพิจารณาคดี เหมือนในระบอบ ประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบเผด็จการ แน่นอนข้อเสียเยอมากทีเดียว 1.เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว ซึ่งย่อมจะมีการ ผิดพลาด และใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดย ไม่มีใครรู้หรือกล้าคัดค้าน 2.มีการใช้อำนาจเผด็จการกดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภาพ รวมทั้ง ประทุษร้ายต่อชีวิตของคนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครอง 3.ทำให้คนดีมีความสามารถที่ไม่ใช่พวกพ้อง หรือผู้สนับสนุน กลุ่มผู้ปกครองไม่มีโอกาสดำรงตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง 4.ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขาดสิทธิเสรีภาพ ย่อมจะไม่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่และอาจพยายามต่อต้าน อยู่เงียบ ๆ หรือมิฉะนั้นบางคนก็อาจจะหลบหนีไปอยู่ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นพวกปัญญาชน ทำให้ประเทศชาติ ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ 5. อาจนำประเทศชาติไปสู่ความพินาศได้ เหมือนดังฮิตเลอร์ได้นำ ประเทศเยอรมนี หรือพลเอกโตโจได้นำประเทศญี่ปุ่น เข้าสู่สงคราม โลกครั้งที่ 2 ซึ่งผลปรากฏว่าทั้งสองประเทศประสบความพินาศ อย่างย่อยยับ หรือตัวอย่างเหตุการณ์ที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เห่งอิรัค ได้ส่งกำลังทหารเข้ายึดครองประเทศคูเวต และไม่ยอมถอนตัว ออกไปตามมติขององค์การสหประชาชาติ จนกองกำลังนานาชาติ ต้องเปิดฉากทำสงครามกับอิรักเพื่อปลดปล่อยคูเวต และผลสุดท้าย อิรักก็เป็นฝ่ายปราชัยอย่างย่อยยับ ทำให้ประชาชนชาวอิรักต้องประสบ ความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การพัฒนา ประเทศหยุดชะงัก ทั้งนี้เป็นเพราะการตัดสินใจผิดพลาดของผู้นำ เพียงคนเดียว วัตถุประสงค์หลัก เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลง จาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ อย่างไร ย่อมขึ้นกับการนำทางแนวคิดทฤษฎีและแนวทาง การเมืองของขบวนการ นี่เป็นเพียงตัวอย่างในเบื้องต้นเท่านั้น ที่นำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ ซึ่งเข้ากับบรรยากาศในประเทศไทยเวลานี้ พี่น้องประชาชน เมื่อใด้อ่านบทความนี้แล้ว ท่านรู้สึกอย่างไร ????? Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775320738264522766/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775319454845247490", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ ------------------ วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงจาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=ระบอบเผด็จการทหารทรราช\" title=\"#ระบอบเผด็จการทหารทรราช\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#ระบอบเผด็จการทหารทรราช</a> - ระบอบเผด็จการที่คณะผู้นำฝ่ายทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ในการปกครอง โดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึก หรือ รัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักจะใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศ เป็นการชั่วคราว ระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือหลังจาก ล้มเลิกระบอบประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดภัยคุกคาม บางอย่างต่อความมั่นคงของรัฐ ส่วนมากแล้วเมื่อเหตุการณ์ความวุ่นวาย ต่าง ๆ สงบลง คณะผู้นำทางทหารก็มักจะอ้างสาเหตุต่าง ๆ นานาเพื่อ ยึดอำนาจการปกครองประเทศต่อไปอีก ไม่ยอมที่จะคืนอำนาจกลับมา ให้ประชาชนโดยง่าย ดังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเวลานี้ ในปัจจุบันนี้เป็นต้น แต่ทว่าเมื่อเวลายิ่งผ่านเนิ่นนานออกไป กระแสความไม่พอใจ ในหมู่ประชาชนรวมทั้งแรงกดดันจากนานาชาติ ก็จะทำให้คณะผู้นำ ทางทหารกุมอำนาจการปกครองไว้ไม่ได้ ในที่สุดก็จำเป็นต้องคืนอำนาจ ให้ประชาน แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ สำหรับประเทศไทย คงจะอีกนานโข แต่ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย มีการต่อสู้ระหว่างกำลังของ ประชาชนกับกำลังของรัฐบาลเผด็จการทหาร ซึ่งจากประวัติศาสตร์ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ในการปกครองที่ผ่านมา มักจะจบลง โดยชัยชนะเป็นของฝ่ายประชาชนเช่นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่โรมาเนีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองแบบเผด็จการทหาร เช่น การปกครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นระยะที่ พลเอกโตโจและคณะนายทหารใช้อำนาจเผด็จการในการปกครอง หรือการปกครองของไทยระหว่างที่ไม่มีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม 2501 ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2511 อำนาจการปกครองประเทศ ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะปฏิวัติ ซึ่งนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ส่วนในปัจจุบัน(พ.ศ. 2541) ก็มี เช่น การปกครองของสหภาพพม่าภายใต้การนำของพลเอกตาน ส่วย เป็นต้น หลักการของระบอบเผด็จการ 1.ผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือของพรรคการเมือง เพียงกลุ่มเดียวมีอำนาจสูงสุด และสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำ มีความสำคัญกว่าการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะ วิพากษ์ วิจารณ์ การกระทำของผู้นำเผด็จการอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนาน เท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไป ไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ที่เผด็จการเขียนขึ้นเองเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเอง รัฐสภาไม่มี ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครอง เหมือน ในระบอบ ประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐาน รองรับอำนาจ ของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น ส่วนการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทน ที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัคร ที่ผู้นำหรือคณะผู้นำ ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกัน รัฐสภาก็จะประชุมกัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำ หรือคณะผู้นำทำการ ปกครองต่อไป ตามที่ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำเห็นสมควร ข้อดีและข้อเสีย ของระบอบเผด็จการ ข้อดีของระบอบเผด็จการ ก็แน่ล่ะซิ กฏกติกาโจรกบฏทรราช ย่อมดีกับเผด็จการ 1.รัฐบาล(เถื่อน)สามารถตัดสินใจทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว กว่ารัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย เช่น สามารถออกกฎหมายมา ใช้บังคับ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยไม่ต้องขอ ความเห็นชอบจาก เสียงข้างมากในรัฐสภา(ถ่อย) ทั้งนี้ก็เพราะผู้นำ หรือคณะรัฐมนตรีมักจะได้ รับมอบอำนาจจากรัฐสภาไว้ล่วงหน้า ให้ออกกฎหมา....ยหรือระเบียบข้อบังคับบางอย่างได้เองตามอำเภอใจ 2.แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผล (สำหรับพวกเผด็จการ) กว่าระบอบประชาธิปไตย เช่น สั่งการปราบการจลาจล การก่ออาชญากรรม และการก่อการร้าย ต่าง ๆ ได้อย่างเฉียบขาด มากกว่า โดยไม่จำต้องเกรงว่าจะเกินอำนาจ ที่กฎหมา...ยให้ไว้ เนื่องจากศาลในระบอบเผด็จการ (ขี้ข้ารับคำสั่งจากเผด็จการ) ไม่ได้มีความเป็นอิสระ ในการพิจารณาคดี เหมือนในระบอบ ประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบเผด็จการ แน่นอนข้อเสียเยอมากทีเดียว 1.เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว ซึ่งย่อมจะมีการ ผิดพลาด และใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดย ไม่มีใครรู้หรือกล้าคัดค้าน 2.มีการใช้อำนาจเผด็จการกดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภาพ รวมทั้ง ประทุษร้ายต่อชีวิตของคนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครอง 3.ทำให้คนดีมีความสามารถที่ไม่ใช่พวกพ้อง หรือผู้สนับสนุน กลุ่มผู้ปกครองไม่มีโอกาสดำรงตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง 4.ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขาดสิทธิเสรีภาพ ย่อมจะไม่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่และอาจพยายามต่อต้าน อยู่เงียบ ๆ หรือมิฉะนั้นบางคนก็อาจจะหลบหนีไปอยู่ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นพวกปัญญาชน ทำให้ประเทศชาติ ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ 5. อาจนำประเทศชาติไปสู่ความพินาศได้ เหมือนดังฮิตเลอร์ได้นำ ประเทศเยอรมนี หรือพลเอกโตโจได้นำประเทศญี่ปุ่น เข้าสู่สงคราม โลกครั้งที่ 2 ซึ่งผลปรากฏว่าทั้งสองประเทศประสบความพินาศ อย่างย่อยยับ หรือตัวอย่างเหตุการณ์ที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เห่งอิรัค ได้ส่งกำลังทหารเข้ายึดครองประเทศคูเวต และไม่ยอมถอนตัว ออกไปตามมติขององค์การสหประชาชาติ จนกองกำลังนานาชาติ ต้องเปิดฉากทำสงครามกับอิรักเพื่อปลดปล่อยคูเวต และผลสุดท้าย อิรักก็เป็นฝ่ายปราชัยอย่างย่อยยับ ทำให้ประชาชนชาวอิรักต้องประสบ ความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การพัฒนา ประเทศหยุดชะงัก ทั้งนี้เป็นเพราะการตัดสินใจผิดพลาดของผู้นำ เพียงคนเดียว วัตถุประสงค์หลัก เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลง จาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ อย่างไร ย่อมขึ้นกับการนำทางแนวคิดทฤษฎีและแนวทาง การเมืองของขบวนการ นี่เป็นเพียงตัวอย่างในเบื้องต้นเท่านั้น ที่นำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ ซึ่งเข้ากับบรรยากาศในประเทศไทยเวลานี้ พี่น้องประชาชน เมื่อใด้อ่านบทความนี้แล้ว ท่านรู้สึกอย่างไร ????? Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/775319454845247490", "published": "2017-11-09T11:22:39+00:00", "source": { "content": "ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ ------------------ วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงจาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย #ระบอบเผด็จการทหารทรราช - ระบอบเผด็จการที่คณะผู้นำฝ่ายทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ในการปกครอง โดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึก หรือ รัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักจะใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศ เป็นการชั่วคราว ระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือหลังจาก ล้มเลิกระบอบประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดภัยคุกคาม บางอย่างต่อความมั่นคงของรัฐ ส่วนมากแล้วเมื่อเหตุการณ์ความวุ่นวาย ต่าง ๆ สงบลง คณะผู้นำทางทหารก็มักจะอ้างสาเหตุต่าง ๆ นานาเพื่อ ยึดอำนาจการปกครองประเทศต่อไปอีก ไม่ยอมที่จะคืนอำนาจกลับมา ให้ประชาชนโดยง่าย ดังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเวลานี้ ในปัจจุบันนี้เป็นต้น แต่ทว่าเมื่อเวลายิ่งผ่านเนิ่นนานออกไป กระแสความไม่พอใจ ในหมู่ประชาชนรวมทั้งแรงกดดันจากนานาชาติ ก็จะทำให้คณะผู้นำ ทางทหารกุมอำนาจการปกครองไว้ไม่ได้ ในที่สุดก็จำเป็นต้องคืนอำนาจ ให้ประชาน แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ สำหรับประเทศไทย คงจะอีกนานโข แต่ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย มีการต่อสู้ระหว่างกำลังของ ประชาชนกับกำลังของรัฐบาลเผด็จการทหาร ซึ่งจากประวัติศาสตร์ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ในการปกครองที่ผ่านมา มักจะจบลง โดยชัยชนะเป็นของฝ่ายประชาชนเช่นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่โรมาเนีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองแบบเผด็จการทหาร เช่น การปกครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นระยะที่ พลเอกโตโจและคณะนายทหารใช้อำนาจเผด็จการในการปกครอง หรือการปกครองของไทยระหว่างที่ไม่มีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม 2501 ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2511 อำนาจการปกครองประเทศ ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะปฏิวัติ ซึ่งนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ส่วนในปัจจุบัน(พ.ศ. 2541) ก็มี เช่น การปกครองของสหภาพพม่าภายใต้การนำของพลเอกตาน ส่วย เป็นต้น หลักการของระบอบเผด็จการ 1.ผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือของพรรคการเมือง เพียงกลุ่มเดียวมีอำนาจสูงสุด และสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำ มีความสำคัญกว่าการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะ วิพากษ์ วิจารณ์ การกระทำของผู้นำเผด็จการอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนาน เท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไป ไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ที่เผด็จการเขียนขึ้นเองเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเอง รัฐสภาไม่มี ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครอง เหมือน ในระบอบ ประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐาน รองรับอำนาจ ของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น ส่วนการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทน ที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัคร ที่ผู้นำหรือคณะผู้นำ ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกัน รัฐสภาก็จะประชุมกัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำ หรือคณะผู้นำทำการ ปกครองต่อไป ตามที่ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำเห็นสมควร ข้อดีและข้อเสีย ของระบอบเผด็จการ ข้อดีของระบอบเผด็จการ ก็แน่ล่ะซิ กฏกติกาโจรกบฏทรราช ย่อมดีกับเผด็จการ 1.รัฐบาล(เถื่อน)สามารถตัดสินใจทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว กว่ารัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย เช่น สามารถออกกฎหมายมา ใช้บังคับ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยไม่ต้องขอ ความเห็นชอบจาก เสียงข้างมากในรัฐสภา(ถ่อย) ทั้งนี้ก็เพราะผู้นำ หรือคณะรัฐมนตรีมักจะได้ รับมอบอำนาจจากรัฐสภาไว้ล่วงหน้า ให้ออกกฎหมา....ยหรือระเบียบข้อบังคับบางอย่างได้เองตามอำเภอใจ 2.แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผล (สำหรับพวกเผด็จการ) กว่าระบอบประชาธิปไตย เช่น สั่งการปราบการจลาจล การก่ออาชญากรรม และการก่อการร้าย ต่าง ๆ ได้อย่างเฉียบขาด มากกว่า โดยไม่จำต้องเกรงว่าจะเกินอำนาจ ที่กฎหมา...ยให้ไว้ เนื่องจากศาลในระบอบเผด็จการ (ขี้ข้ารับคำสั่งจากเผด็จการ) ไม่ได้มีความเป็นอิสระ ในการพิจารณาคดี เหมือนในระบอบ ประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบเผด็จการ แน่นอนข้อเสียเยอมากทีเดียว 1.เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว ซึ่งย่อมจะมีการ ผิดพลาด และใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดย ไม่มีใครรู้หรือกล้าคัดค้าน 2.มีการใช้อำนาจเผด็จการกดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภาพ รวมทั้ง ประทุษร้ายต่อชีวิตของคนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครอง 3.ทำให้คนดีมีความสามารถที่ไม่ใช่พวกพ้อง หรือผู้สนับสนุน กลุ่มผู้ปกครองไม่มีโอกาสดำรงตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง 4.ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขาดสิทธิเสรีภาพ ย่อมจะไม่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่และอาจพยายามต่อต้าน อยู่เงียบ ๆ หรือมิฉะนั้นบางคนก็อาจจะหลบหนีไปอยู่ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นพวกปัญญาชน ทำให้ประเทศชาติ ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ 5. อาจนำประเทศชาติไปสู่ความพินาศได้ เหมือนดังฮิตเลอร์ได้นำ ประเทศเยอรมนี หรือพลเอกโตโจได้นำประเทศญี่ปุ่น เข้าสู่สงคราม โลกครั้งที่ 2 ซึ่งผลปรากฏว่าทั้งสองประเทศประสบความพินาศ อย่างย่อยยับ หรือตัวอย่างเหตุการณ์ที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เห่งอิรัค ได้ส่งกำลังทหารเข้ายึดครองประเทศคูเวต และไม่ยอมถอนตัว ออกไปตามมติขององค์การสหประชาชาติ จนกองกำลังนานาชาติ ต้องเปิดฉากทำสงครามกับอิรักเพื่อปลดปล่อยคูเวต และผลสุดท้าย อิรักก็เป็นฝ่ายปราชัยอย่างย่อยยับ ทำให้ประชาชนชาวอิรักต้องประสบ ความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การพัฒนา ประเทศหยุดชะงัก ทั้งนี้เป็นเพราะการตัดสินใจผิดพลาดของผู้นำ เพียงคนเดียว วัตถุประสงค์หลัก เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลง จาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ อย่างไร ย่อมขึ้นกับการนำทางแนวคิดทฤษฎีและแนวทาง การเมืองของขบวนการ นี่เป็นเพียงตัวอย่างในเบื้องต้นเท่านั้น ที่นำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ ซึ่งเข้ากับบรรยากาศในประเทศไทยเวลานี้ พี่น้องประชาชน เมื่อใด้อ่านบทความนี้แล้ว ท่านรู้สึกอย่างไร ????? Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:775319454845247490/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:774832339053191183", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281", "content": "วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงจาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=ระบอบเผด็จการทหารทรราช\" title=\"#ระบอบเผด็จการทหารทรราช\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#ระบอบเผด็จการทหารทรราช</a> - ระบอบเผด็จการ ที่คณะผู้นำฝ่ายทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ในการปกครอง โดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึก หรือ รัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักจะใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศ เป็นการชั่วคราว ระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือหลังจาก ล้มเลิกระบอบประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดภัยคุกคาม บางอย่างต่อความมั่นคงของรัฐ ส่วนมากแล้วเมื่อเหตุการณ์ความวุ่นวาย ต่าง ๆ สงบลง คณะผู้นำทางทหารก็มักจะอ้างสาเหตุต่าง ๆ นานาเพื่อ ยึดอำนาจการปกครองประเทศต่อไปอีก ไม่ยอมที่จะคืนอำนาจกลับมา ให้ประชาชนโดยง่าย ดังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเวลานี้ ในปัจจุบันนี้เป็นต้น แต่ทว่าเมื่อเวลายิ่งผ่านเนิ่นนานออกไป กระแสความไม่พอใจ ในหมู่ประชาชนรวมทั้งแรงกดดันจากนานาชาติ ก็จะทำให้คณะผู้นำ ทางทหารกุมอำนาจการปกครองไว้ไม่ได้ ในที่สุดก็จำเป็นต้องคืนอำนาจ ให้ประชาน แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ สำหรับประเทศไทย คงจะอีกนานโข แต่ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย มีการต่อสู้ระหว่างกำลังของ ประชาชนกับกำลังของรัฐบาลเผด็จการทหาร ซึ่งจากประวัติศาสตร์ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ในการปกครองที่ผ่านมา มักจะจบลง โดยชัยชนะเป็นของฝ่ายประชาชนเช่นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่โรมาเนีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองแบบเผด็จการทหาร เช่น การปกครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นระยะที่ พลเอกโตโจและคณะนายทหารใช้อำนาจเผด็จการในการปกครอง หรือการปกครองของไทยระหว่างที่ไม่มีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม 2501 ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2511 อำนาจการปกครองประเทศ ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะปฏิวัติ ซึ่งนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ส่วนในปัจจุบัน(พ.ศ. 2541) ก็มี เช่น การปกครองของสหภาพพม่าภายใต้การนำของพลเอกตาน ส่วย เป็นต้น หลักการของระบอบเผด็จการ 1.ผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือของพรรคการเมือง เพียงกลุ่มเดียวมีอำนาจสูงสุด และสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำ มีความสำคัญกว่าการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะ วิพากษ์ วิจารณ์ การกระทำของผู้นำเผด็จการอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนาน เท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไป ไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ที่เผด็จการเขียนขึ้นเองเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเอง รัฐสภาไม่มี ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครอง เหมือน ในระบอบ ประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐาน รองรับอำนาจ ของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น ส่วนการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทน ที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัคร ที่ผู้นำหรือคณะผู้นำ ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกัน รัฐสภาก็จะประชุมกัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำ หรือคณะผู้นำทำการ ปกครองต่อไป ตามที่ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำเห็นสมควร ข้อดีและข้อเสีย ของระบอบเผด็จการ ข้อดีของระบอบเผด็จการ ก็แน่ล่ะซิ กฏกติกาโจรกบฏทรราช ย่อมดีกับเผด็จการ 1.รัฐบาล(เถื่อน)สามารถตัดสินใจทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว กว่ารัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย เช่น สามารถออกกฎหมายมา ใช้บังคับ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยไม่ต้องขอ ความเห็นชอบจาก เสียงข้างมากในรัฐสภา(ถ่อย) ทั้งนี้ก็เพราะผู้นำ หรือคณะรัฐมนตรีมักจะได้ รับมอบอำนาจจากรัฐสภาไว้ล่วงหน้า ให้ออกกฎหมา....ยหรือระเบียบข้อบังคับบางอย่างได้เองตามอำเภอใจ 2.แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผล (สำหรับพวกเผด็จการ) กว่าระบอบประชาธิปไตย เช่น สั่งการปราบการจลาจล การก่ออาชญากรรม และการก่อการร้าย ต่าง ๆ ได้อย่างเฉียบขาด มากกว่า โดยไม่จำต้องเกรงว่าจะเกินอำนาจ ที่กฎหมา...ยให้ไว้ เนื่องจากศาลในระบอบเผด็จการ (ขี้ข้ารับคำสั่งจากเผด็จการ) ไม่ได้มีความเป็นอิสระ ในการพิจารณาคดี เหมือนในระบอบ ประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบเผด็จการ แน่นอนข้อเสียเยอมากทีเดียว 1.เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว ซึ่งย่อมจะมีการ ผิดพลาด และใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดย ไม่มีใครรู้หรือกล้าคัดค้าน 2.มีการใช้อำนาจเผด็จการกดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภาพ รวมทั้ง ประทุษร้ายต่อชีวิตของคนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครอง 3.ทำให้คนดีมีความสามารถที่ไม่ใช่พวกพ้อง หรือผู้สนับสนุน กลุ่มผู้ปกครองไม่มีโอกาสดำรงตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง 4.ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขาดสิทธิเสรีภาพ ย่อมจะไม่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่และอาจพยายามต่อต้าน อยู่เงียบ ๆ หรือมิฉะนั้นบางคนก็อาจจะหลบหนีไปอยู่ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นพวกปัญญาชน ทำให้ประเทศชาติ ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ 5. อาจนำประเทศชาติไปสู่ความพินาศได้ เหมือนดังฮิตเลอร์ได้นำ ประเทศเยอรมนี หรือพลเอกโตโจได้นำประเทศญี่ปุ่น เข้าสู่สงคราม โลกครั้งที่ 2 ซึ่งผลปรากฏว่าทั้งสองประเทศประสบความพินาศ อย่างย่อยยับ หรือตัวอย่างเหตุการณ์ที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เห่งอิรัค ได้ส่งกำลังทหารเข้ายึดครองประเทศคูเวต และไม่ยอมถอนตัว ออกไปตามมติขององค์การสหประชาชาติ จนกองกำลังนานาชาติ ต้องเปิดฉากทำสงครามกับอิรักเพื่อปลดปล่อยคูเวต และผลสุดท้าย อิรักก็เป็นฝ่ายปราชัยอย่างย่อยยับ ทำให้ประชาชนชาวอิรักต้องประสบ ความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การพัฒนา ประเทศหยุดชะงัก ทั้งนี้เป็นเพราะการตัดสินใจผิดพลาดของผู้นำ เพียงคนเดียว วัตถุประสงค์หลัก เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลง จาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ อย่างไร ย่อมขึ้นกับการนำทางแนวคิดทฤษฎีและแนวทาง การเมืองของขบวนการ นี่เป็นเพียงตัวอย่างในเบื้องต้นเท่านั้น ที่นำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ ซึ่งเข้ากับบรรยากาศในประเทศไทยเวลานี้ พี่น้องประชาชน เมื่อใด้อ่านบทความนี้แล้ว ท่านรู้สึกอย่างไร ????? Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, <a class=\"u-url mention\" href=\"https://www.minds.com/MaleeblueNews09\" target=\"_blank\">@MaleeblueNews09</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/followers" ], "tag": [ { "type": "Mention", "href": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/575400920209170444", "name": "@MaleeblueNews09" } ], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/774832339053191183", "published": "2017-11-08T03:07:02+00:00", "source": { "content": "วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงจาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย #ระบอบเผด็จการทหารทรราช - ระบอบเผด็จการ ที่คณะผู้นำฝ่ายทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ในการปกครอง โดยตรงหรือโดยอ้อม (ผ่านทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน) และมักจะใช้กฎอัยการศึก หรือ รัฐธรรมนูญที่คณะของตนสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการปกครอง โดยทั่วไปคณะผู้นำทหารมักจะใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศ เป็นการชั่วคราว ระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือหลังจาก ล้มเลิกระบอบประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดภัยคุกคาม บางอย่างต่อความมั่นคงของรัฐ ส่วนมากแล้วเมื่อเหตุการณ์ความวุ่นวาย ต่าง ๆ สงบลง คณะผู้นำทางทหารก็มักจะอ้างสาเหตุต่าง ๆ นานาเพื่อ ยึดอำนาจการปกครองประเทศต่อไปอีก ไม่ยอมที่จะคืนอำนาจกลับมา ให้ประชาชนโดยง่าย ดังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเวลานี้ ในปัจจุบันนี้เป็นต้น แต่ทว่าเมื่อเวลายิ่งผ่านเนิ่นนานออกไป กระแสความไม่พอใจ ในหมู่ประชาชนรวมทั้งแรงกดดันจากนานาชาติ ก็จะทำให้คณะผู้นำ ทางทหารกุมอำนาจการปกครองไว้ไม่ได้ ในที่สุดก็จำเป็นต้องคืนอำนาจ ให้ประชาน แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ สำหรับประเทศไทย คงจะอีกนานโข แต่ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย มีการต่อสู้ระหว่างกำลังของ ประชาชนกับกำลังของรัฐบาลเผด็จการทหาร ซึ่งจากประวัติศาสตร์ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ในการปกครองที่ผ่านมา มักจะจบลง โดยชัยชนะเป็นของฝ่ายประชาชนเช่นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่โรมาเนีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองแบบเผด็จการทหาร เช่น การปกครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นระยะที่ พลเอกโตโจและคณะนายทหารใช้อำนาจเผด็จการในการปกครอง หรือการปกครองของไทยระหว่างที่ไม่มีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม 2501 ถึงวันที่ 20 มิถุนายน 2511 อำนาจการปกครองประเทศ ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะปฏิวัติ ซึ่งนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ส่วนในปัจจุบัน(พ.ศ. 2541) ก็มี เช่น การปกครองของสหภาพพม่าภายใต้การนำของพลเอกตาน ส่วย เป็นต้น หลักการของระบอบเผด็จการ 1.ผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำของกองทัพ หรือของพรรคการเมือง เพียงกลุ่มเดียวมีอำนาจสูงสุด และสามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ในประเทศ 2.การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำ มีความสำคัญกว่าการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะ วิพากษ์ วิจารณ์ การกระทำของผู้นำเผด็จการอย่างเปิดเผยได้ 3.ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิต หรือนาน เท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้การสนับสนุน ประชาชนทั่วไป ไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ 4.รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ที่เผด็จการเขียนขึ้นเองเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเอง รัฐสภาไม่มี ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครอง เหมือน ในระบอบ ประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐาน รองรับอำนาจ ของผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้น ส่วนการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทน ที่จัดขึ้นก็เพื่อให้ประชาชนออกเสียงเลือกตั้งผู้สมัคร ที่ผู้นำหรือคณะผู้นำ ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้งเท่านั้น ในทำนองเดียวกัน รัฐสภาก็จะประชุมกัน เพื่อรับทราบและยืนยันให้ผู้นำ หรือคณะผู้นำทำการ ปกครองต่อไป ตามที่ผู้นำเผด็จการหรือคณะผู้นำเห็นสมควร ข้อดีและข้อเสีย ของระบอบเผด็จการ ข้อดีของระบอบเผด็จการ ก็แน่ล่ะซิ กฏกติกาโจรกบฏทรราช ย่อมดีกับเผด็จการ 1.รัฐบาล(เถื่อน)สามารถตัดสินใจทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว กว่ารัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย เช่น สามารถออกกฎหมายมา ใช้บังคับ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยไม่ต้องขอ ความเห็นชอบจาก เสียงข้างมากในรัฐสภา(ถ่อย) ทั้งนี้ก็เพราะผู้นำ หรือคณะรัฐมนตรีมักจะได้ รับมอบอำนาจจากรัฐสภาไว้ล่วงหน้า ให้ออกกฎหมา....ยหรือระเบียบข้อบังคับบางอย่างได้เองตามอำเภอใจ 2.แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผล (สำหรับพวกเผด็จการ) กว่าระบอบประชาธิปไตย เช่น สั่งการปราบการจลาจล การก่ออาชญากรรม และการก่อการร้าย ต่าง ๆ ได้อย่างเฉียบขาด มากกว่า โดยไม่จำต้องเกรงว่าจะเกินอำนาจ ที่กฎหมา...ยให้ไว้ เนื่องจากศาลในระบอบเผด็จการ (ขี้ข้ารับคำสั่งจากเผด็จการ) ไม่ได้มีความเป็นอิสระ ในการพิจารณาคดี เหมือนในระบอบ ประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบเผด็จการ แน่นอนข้อเสียเยอมากทีเดียว 1.เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว ซึ่งย่อมจะมีการ ผิดพลาด และใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดย ไม่มีใครรู้หรือกล้าคัดค้าน 2.มีการใช้อำนาจเผด็จการกดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภาพ รวมทั้ง ประทุษร้ายต่อชีวิตของคนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครอง 3.ทำให้คนดีมีความสามารถที่ไม่ใช่พวกพ้อง หรือผู้สนับสนุน กลุ่มผู้ปกครองไม่มีโอกาสดำรงตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง 4.ประชาชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขาดสิทธิเสรีภาพ ย่อมจะไม่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่และอาจพยายามต่อต้าน อยู่เงียบ ๆ หรือมิฉะนั้นบางคนก็อาจจะหลบหนีไปอยู่ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นพวกปัญญาชน ทำให้ประเทศชาติ ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ 5. อาจนำประเทศชาติไปสู่ความพินาศได้ เหมือนดังฮิตเลอร์ได้นำ ประเทศเยอรมนี หรือพลเอกโตโจได้นำประเทศญี่ปุ่น เข้าสู่สงคราม โลกครั้งที่ 2 ซึ่งผลปรากฏว่าทั้งสองประเทศประสบความพินาศ อย่างย่อยยับ หรือตัวอย่างเหตุการณ์ที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เห่งอิรัค ได้ส่งกำลังทหารเข้ายึดครองประเทศคูเวต และไม่ยอมถอนตัว ออกไปตามมติขององค์การสหประชาชาติ จนกองกำลังนานาชาติ ต้องเปิดฉากทำสงครามกับอิรักเพื่อปลดปล่อยคูเวต และผลสุดท้าย อิรักก็เป็นฝ่ายปราชัยอย่างย่อยยับ ทำให้ประชาชนชาวอิรักต้องประสบ ความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การพัฒนา ประเทศหยุดชะงัก ทั้งนี้เป็นเพราะการตัดสินใจผิดพลาดของผู้นำ เพียงคนเดียว วัตถุประสงค์หลัก เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลง จาก \"ระบอบเผด็จการทุนนิยม\" ไปเป็นระบอบประชาธิปไตย ขบวนการต่อสู้ของประชาชนจะข้ามพ้นทางแพร่ง ในประวัติศาสตร์ระหว่าง \"เผด็จการทุนนิยม\" กับ \"ประชาธิปไตยราชการ\" ได้หรือไม่ อย่างไร ย่อมขึ้นกับการนำทางแนวคิดทฤษฎีและแนวทาง การเมืองของขบวนการ นี่เป็นเพียงตัวอย่างในเบื้องต้นเท่านั้น ที่นำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ ซึ่งเข้ากับบรรยากาศในประเทศไทยเวลานี้ พี่น้องประชาชน เมื่อใด้อ่านบทความนี้แล้ว ท่านรู้สึกอย่างไร ????? Cherry Caviara, Michelle Maleeblue, @MaleeblueNews09", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/entities/urn:activity:774832339053191183/activity" } ], "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/outbox", "partOf": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/714459313589985281/outboxoutbox" }