A small tool to view real-world ActivityPub objects as JSON! Enter a URL
or username from Mastodon or a similar service below, and we'll send a
request with
the right
Accept
header
to the server to view the underlying object.
{
"@context": "https://www.w3.org/ns/activitystreams",
"type": "OrderedCollectionPage",
"orderedItems": [
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1128227272903274496",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<a href=\"https://www.minds.com/newsfeed/1128227272903274496\" target=\"_blank\">https://www.minds.com/newsfeed/1128227272903274496</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers",
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1107826824437571597"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1128227272903274496",
"published": "2020-07-10T07:32:23+00:00",
"inReplyTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1107826824437571597/entities/urn:activity:1128209698149445632",
"source": {
"content": "https://www.minds.com/newsfeed/1128227272903274496",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1128227272903274496/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1124582975485927424",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": " <br /> หลายท่านอาจจะไม่เคยทราบว่ารัฐเทกซัส ซึ่งมีสถานะเป็นรัฐลำดับที่ 28 ของประเทศสหรัฐอเมริกานั้น แท้จริงเคยเป็นมีสถานะเป็นรัฐเอกราชตั้งแต่ปีค.ศ. 1836 - 1846 ซึ่งมีพื้นที่ในดินแดนที่มีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของรัฐเทกซัสในปัจจุบัน รวมไปถึงบางส่วนของรัฐนิวเม็กซิโก, โอคลาโฮมา, แคนซัส, โคโลราโด และไวโอมิง<br /><br /><br /> สาธารณรัฐเทกซัสสถาปนาตนเองขึ้นมาจากรัฐโกอาวีลาอีเตคัส (Coahuila y Tejas) ของเม็กซิโกจากเหตุการณ์การปฏิวัติเทกซัส ในขณะนั้นเม็กซิโกกำลังอยู่ในความสับสนอลหม่านขณะที่ผู้นำของประเทศในแต่ละสมัยพยายามที่จะกำหนดรูปแบบการปกครองที่เหมาะสมที่สุดสำหรับประเทศ ในปี 1835 ประธานาธิบดีอันโตนิโอ โลเปซ เด ซานตา อันนา (Antonio López de Santa Anna) ประกาศล้มล้างรัฐธรรมนูญปี 1824 ทำให้เขามีอำนาจมหาศาลในการควบคุมรัฐบาล ชาวอาณานิคมในเทกซัสจึงเกิดความกังวลต่อสถานการณ์ดังกล่าว และเริ่มก่อตั้งคณะกรรมการเพื่อการตอบโต้ โดยมีคณะกรรมการกลางในแซนฟิลิปดิออสตินเป็นผู้ประสานการทำงาน ขณะที่ในเม็กซิโกชั้นใน ก็มีการต่อต้านนโยบายรวมอำนาจใหม่นี้ในหลายๆรัฐเช่นกัน<br /><br /> <br /><br /> การปฏิวัติเทกซัสเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 2 ตุลาคม 1835 ในยุทธการกอนซาเลส โดยเริ่มแรกนั้น ชาวเทกซัสจะต่อสู้เพื่อให้กลับมาใช้รัฐธรรมนูญแห่งปี 1824 อีกครั้ง แต่ต่อมา เป้าหมายของสงครามก็เปลี่ยนไป โดยได้มีการประกาศเอกราชที่การชุมนุมแห่งปี 1836 ในวันที่ 2 มีนาคม 1836 และสถานปนาตนเองเป็นสาธารณรัฐเทกซัสอย่างเป็นทางการ ซึ่งเทกซัสต่อสู้ในสงครามประกาศเอกราช จนได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในวันที่ 21 เมษายน 1836 <br /><br /><br /><br /> หลังจากได้รับอิสรภาพ ชาวเทกซัสได้จัดการเลือกตั้งลงคะแนนเพื่อเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสมาชิกในเดือนกันยายน ปี 1836 ประกอบไปด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 14 คนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 29 คน รัฐธรรมนูญฉบับแรกนั้นอนุญาตให้ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเทกซัสดำรงตำแหน่งสองปี แต่ต่อมาได้เพิ่มวาระเป็นสามปีให้กับประธานาธิบดีในสมัยต่อๆมา<br /><br /> เนื่องจากในช่วงสถาปนารัฐ ยังอยู่ในช่วงสงครามประกาศเอกราชอยู่ จึงมีการกำหนดให้เมืองห้าแห่งมีหน้าที่เป็นเมืองหลวงชั่วคราวของเทกซัสในปี 1836 ได้แก่เมืองวอชิงตัน-ออน-เดอะ-แบรซัส, แฮร์ริสเบิร์ก, แกลวิสตัน, วิลาสโก และโคลัมเบีย ต่อมาได้มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ฮิวสตัน ซึ่งเป็นเมืองสร้างใหม่ในปี 1837 และในปี 1839 เมืองหลวงถูกย้ายอีกครั้งไปยังนิคมเล็กๆบริเวณชายแดนเลียบแม่น้ำโคลาราโดที่เรียกว่าวอเตอร์ลู โดยได้มีการปรับผังเมืองดังกล่าวใหม่ และเปลี่ยนชื่อเป็น ออสติน (Austin)<br /><br /> ในเดือนมีนาคม 1837 ประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็คสันแห่งสหรัฐฯ ได้แต่งตั้งให้อัลซี ลาบอนช์ เป็นอุปทูตประจำสาธารณรัฐเทกซัส ซึ่งถือเป็นการรับรองสถานะรัฐที่เป็นเอกราชอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้สาธารณรัฐเทกซัสยังได้รับการรับรองทางการทูตจากฝรั่งเศส, เบลเยียม, เนเธอร์แลนด์ และสาธารณรัฐยูกาตัง ทางด้านสหราชอาณาจักรไม่รับรองเทกซัสอย่างเป็นทางการ เนื่องด้วยสัมพันธไมตรีอันดีที่มีต่อเม็กซิโก ซึ่งเม็กซิโกปฏิเสธที่จะยอมรับเทกซัสเป็นรัฐเอกราชโดยตลอดมา<br /><br /><br /> การเมืองของเทกซัสมีความวุ่นวายตลอดระยะเวลาของการดำรงสถานะรัฐเอกราช โดยภายในมีความขัดแย้งระหว่างสองกลุ่ม ได้แก่พรรคชาตินิยม นำโดยลามาร์ ซึ่งต้องการให้สาธารณรัฐเทกซัสดำรงอยู่เป็นรัฐเอกราชต่อไป ในขณะที่อีกฝ่ายนำโดยฮิวสตัน สนับสนุนให้เทกซัสผนวกดินแดนเข้ากับสหรัฐอเมริกา มีความพยายามที่จะเสนอให้ผนวกเทกซัสกับสหรัฐฯครั้งแรกในปี 1837 แต่ก็ถูกฝ่ายสหรัฐฯปฏิเสธ (เนื่องจากเกรงว่าจะเป็นการประกาศสงครามกับแมกซิโกซึ่งยังถือว่าเทกซัสเป็นอาณาเขตของตน) และครั้งที่สองในปี 1844 แต่ก็แพ้โหวตในสภาคองเกรส<br /><br /> จนกระทั่งในปี 1845 เจมส์ น็อกซ์ โพล์ก (James Knox Polk) ซึ่งมีนโยบายสนับสนุนการรวมเทกซัส ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 1845 สภาคองเกรสภายใต้ประธานาธิบดีโพล์กผ่านร่างเห็นชอบ ให้เท็กซัสเข้ามาเป็นมลรัฐใหม่ของสหรัฐอเมริกา ข้อตกลงต่างๆทั้งทางด้านดินแดนและด้านอื่นๆได้รับการเจรจาจนเป็นที่น่าพอใจต่อฝ่ายสาธารณรัฐเทกซัส เสียงส่วนใหญ่ในการประชามติภายในสาธารณรัฐเทกซัสเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 1845 มีมติให้รับข้อเสนอและรวมดินแดนเข้ากับสหรัฐ เมื่อบรรลุข้อตกลงตามกฏหมายทั้งสองฝ่าย สาธารณรัฐเทกซัสจึงมีสถานะเป็นรัฐที่ 28 ของสหรัฐอเมริกานับแต่นั้นมา<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=History\" title=\"#History\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#History</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1124582975485927424",
"published": "2020-06-30T06:11:13+00:00",
"source": {
"content": " \n หลายท่านอาจจะไม่เคยทราบว่ารัฐเทกซัส ซึ่งมีสถานะเป็นรัฐลำดับที่ 28 ของประเทศสหรัฐอเมริกานั้น แท้จริงเคยเป็นมีสถานะเป็นรัฐเอกราชตั้งแต่ปีค.ศ. 1836 - 1846 ซึ่งมีพื้นที่ในดินแดนที่มีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของรัฐเทกซัสในปัจจุบัน รวมไปถึงบางส่วนของรัฐนิวเม็กซิโก, โอคลาโฮมา, แคนซัส, โคโลราโด และไวโอมิง\n\n\n สาธารณรัฐเทกซัสสถาปนาตนเองขึ้นมาจากรัฐโกอาวีลาอีเตคัส (Coahuila y Tejas) ของเม็กซิโกจากเหตุการณ์การปฏิวัติเทกซัส ในขณะนั้นเม็กซิโกกำลังอยู่ในความสับสนอลหม่านขณะที่ผู้นำของประเทศในแต่ละสมัยพยายามที่จะกำหนดรูปแบบการปกครองที่เหมาะสมที่สุดสำหรับประเทศ ในปี 1835 ประธานาธิบดีอันโตนิโอ โลเปซ เด ซานตา อันนา (Antonio López de Santa Anna) ประกาศล้มล้างรัฐธรรมนูญปี 1824 ทำให้เขามีอำนาจมหาศาลในการควบคุมรัฐบาล ชาวอาณานิคมในเทกซัสจึงเกิดความกังวลต่อสถานการณ์ดังกล่าว และเริ่มก่อตั้งคณะกรรมการเพื่อการตอบโต้ โดยมีคณะกรรมการกลางในแซนฟิลิปดิออสตินเป็นผู้ประสานการทำงาน ขณะที่ในเม็กซิโกชั้นใน ก็มีการต่อต้านนโยบายรวมอำนาจใหม่นี้ในหลายๆรัฐเช่นกัน\n\n \n\n การปฏิวัติเทกซัสเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 2 ตุลาคม 1835 ในยุทธการกอนซาเลส โดยเริ่มแรกนั้น ชาวเทกซัสจะต่อสู้เพื่อให้กลับมาใช้รัฐธรรมนูญแห่งปี 1824 อีกครั้ง แต่ต่อมา เป้าหมายของสงครามก็เปลี่ยนไป โดยได้มีการประกาศเอกราชที่การชุมนุมแห่งปี 1836 ในวันที่ 2 มีนาคม 1836 และสถานปนาตนเองเป็นสาธารณรัฐเทกซัสอย่างเป็นทางการ ซึ่งเทกซัสต่อสู้ในสงครามประกาศเอกราช จนได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในวันที่ 21 เมษายน 1836 \n\n\n\n หลังจากได้รับอิสรภาพ ชาวเทกซัสได้จัดการเลือกตั้งลงคะแนนเพื่อเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสมาชิกในเดือนกันยายน ปี 1836 ประกอบไปด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 14 คนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 29 คน รัฐธรรมนูญฉบับแรกนั้นอนุญาตให้ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเทกซัสดำรงตำแหน่งสองปี แต่ต่อมาได้เพิ่มวาระเป็นสามปีให้กับประธานาธิบดีในสมัยต่อๆมา\n\n เนื่องจากในช่วงสถาปนารัฐ ยังอยู่ในช่วงสงครามประกาศเอกราชอยู่ จึงมีการกำหนดให้เมืองห้าแห่งมีหน้าที่เป็นเมืองหลวงชั่วคราวของเทกซัสในปี 1836 ได้แก่เมืองวอชิงตัน-ออน-เดอะ-แบรซัส, แฮร์ริสเบิร์ก, แกลวิสตัน, วิลาสโก และโคลัมเบีย ต่อมาได้มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ฮิวสตัน ซึ่งเป็นเมืองสร้างใหม่ในปี 1837 และในปี 1839 เมืองหลวงถูกย้ายอีกครั้งไปยังนิคมเล็กๆบริเวณชายแดนเลียบแม่น้ำโคลาราโดที่เรียกว่าวอเตอร์ลู โดยได้มีการปรับผังเมืองดังกล่าวใหม่ และเปลี่ยนชื่อเป็น ออสติน (Austin)\n\n ในเดือนมีนาคม 1837 ประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็คสันแห่งสหรัฐฯ ได้แต่งตั้งให้อัลซี ลาบอนช์ เป็นอุปทูตประจำสาธารณรัฐเทกซัส ซึ่งถือเป็นการรับรองสถานะรัฐที่เป็นเอกราชอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้สาธารณรัฐเทกซัสยังได้รับการรับรองทางการทูตจากฝรั่งเศส, เบลเยียม, เนเธอร์แลนด์ และสาธารณรัฐยูกาตัง ทางด้านสหราชอาณาจักรไม่รับรองเทกซัสอย่างเป็นทางการ เนื่องด้วยสัมพันธไมตรีอันดีที่มีต่อเม็กซิโก ซึ่งเม็กซิโกปฏิเสธที่จะยอมรับเทกซัสเป็นรัฐเอกราชโดยตลอดมา\n\n\n การเมืองของเทกซัสมีความวุ่นวายตลอดระยะเวลาของการดำรงสถานะรัฐเอกราช โดยภายในมีความขัดแย้งระหว่างสองกลุ่ม ได้แก่พรรคชาตินิยม นำโดยลามาร์ ซึ่งต้องการให้สาธารณรัฐเทกซัสดำรงอยู่เป็นรัฐเอกราชต่อไป ในขณะที่อีกฝ่ายนำโดยฮิวสตัน สนับสนุนให้เทกซัสผนวกดินแดนเข้ากับสหรัฐอเมริกา มีความพยายามที่จะเสนอให้ผนวกเทกซัสกับสหรัฐฯครั้งแรกในปี 1837 แต่ก็ถูกฝ่ายสหรัฐฯปฏิเสธ (เนื่องจากเกรงว่าจะเป็นการประกาศสงครามกับแมกซิโกซึ่งยังถือว่าเทกซัสเป็นอาณาเขตของตน) และครั้งที่สองในปี 1844 แต่ก็แพ้โหวตในสภาคองเกรส\n\n จนกระทั่งในปี 1845 เจมส์ น็อกซ์ โพล์ก (James Knox Polk) ซึ่งมีนโยบายสนับสนุนการรวมเทกซัส ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 1845 สภาคองเกรสภายใต้ประธานาธิบดีโพล์กผ่านร่างเห็นชอบ ให้เท็กซัสเข้ามาเป็นมลรัฐใหม่ของสหรัฐอเมริกา ข้อตกลงต่างๆทั้งทางด้านดินแดนและด้านอื่นๆได้รับการเจรจาจนเป็นที่น่าพอใจต่อฝ่ายสาธารณรัฐเทกซัส เสียงส่วนใหญ่ในการประชามติภายในสาธารณรัฐเทกซัสเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 1845 มีมติให้รับข้อเสนอและรวมดินแดนเข้ากับสหรัฐ เมื่อบรรลุข้อตกลงตามกฏหมายทั้งสองฝ่าย สาธารณรัฐเทกซัสจึงมีสถานะเป็นรัฐที่ 28 ของสหรัฐอเมริกานับแต่นั้นมา\n\n#History\n#historyth",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1124582975485927424/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1122073804658302976",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />23 มิถุนายน 1868 : คริสโตเฟอร์ เลแธม โชลส์ (Christopher Latham Sholes) ชาวอเมริกันและทีมพัฒนารวม 5 คน ได้รับการรับรองสิทธิบัตร์ของสิ่งประดิษฐ์ที่ชื่อว่า \"typewriter\" ซึ่งภายหลังจากการพัฒนาก็ได้กลายมาเป็นพิมพ์ดีดรุ่นแรกที่ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์ในวงกว้าง ในระหว่างการผลิต โชลส์ก็ได้พัฒนาปรับปรุงกลไกลการทำงานของเครื่องเพื่อให้เกิดการติดขัดระหว่างพิมพ์น้อยที่สุด จนเกิดมาเป็นระบบการเรียงแป้นพิมพ์แบบ \"QWERTY\" ขึ้นในปี 1873 ซึ่งระบบนี้ได้กลายเป็นระบบที่ได้รับความนิยมและถูกใช้งานอย่างกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน แม้ความนิยมในเครื่องพิมพ์ดีดจะถูกแทนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์แล้วก็ตาม",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1122073804658302976",
"published": "2020-06-23T08:00:41+00:00",
"source": {
"content": "\n23 มิถุนายน 1868 : คริสโตเฟอร์ เลแธม โชลส์ (Christopher Latham Sholes) ชาวอเมริกันและทีมพัฒนารวม 5 คน ได้รับการรับรองสิทธิบัตร์ของสิ่งประดิษฐ์ที่ชื่อว่า \"typewriter\" ซึ่งภายหลังจากการพัฒนาก็ได้กลายมาเป็นพิมพ์ดีดรุ่นแรกที่ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์ในวงกว้าง ในระหว่างการผลิต โชลส์ก็ได้พัฒนาปรับปรุงกลไกลการทำงานของเครื่องเพื่อให้เกิดการติดขัดระหว่างพิมพ์น้อยที่สุด จนเกิดมาเป็นระบบการเรียงแป้นพิมพ์แบบ \"QWERTY\" ขึ้นในปี 1873 ซึ่งระบบนี้ได้กลายเป็นระบบที่ได้รับความนิยมและถูกใช้งานอย่างกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน แม้ความนิยมในเครื่องพิมพ์ดีดจะถูกแทนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์แล้วก็ตาม",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1122073804658302976/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117806843411001344",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />สะพานบรูคลิน (Brooklyn Bridge) เป็นสะพานแขวนแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา ออกแบบโดย จอห์น เอ ร็อบลิง ชาวเยอรมันผู้ย้ายถิ่นฐานมายังอเมริกา มีความยาวทั้งสิ้น 1825 เมตร โดยสร้างขึ้นเพื่อเป็นสะพานเชื่อมระหว่างเขตบรูคลินและเกาะแมนแฮตตันในมหานครนิวยอร์ค <br /><br />การก่อสร้างสะพานบรูคลินนั้นได้พบกับอุปสรรคและปัญหามากมายในทุกขั้นตอน แต่หลังจากใช้ระยะเวลาก่อสร้างยาวนานถึง 16 ปี ในที่สุดสะพานแห่งนี้จึงสามารถเปิดให้ใช้งานได้ในวันที่ 24 พฤษภาคม 1883 พร้อมกับการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ด้วยดอกไม้ไฟ ในวันแรกที่เปิดใช้งานนั้น มียานพาหนะกว่า 1,800 คันและผู้คนกว่า 150,000 คนเดินทางมาประเดิมใช้งานสะพานแห่งนี้<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><br />",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117806843411001344",
"published": "2020-06-20T03:00:00+00:00",
"source": {
"content": "\nสะพานบรูคลิน (Brooklyn Bridge) เป็นสะพานแขวนแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา ออกแบบโดย จอห์น เอ ร็อบลิง ชาวเยอรมันผู้ย้ายถิ่นฐานมายังอเมริกา มีความยาวทั้งสิ้น 1825 เมตร โดยสร้างขึ้นเพื่อเป็นสะพานเชื่อมระหว่างเขตบรูคลินและเกาะแมนแฮตตันในมหานครนิวยอร์ค \n\nการก่อสร้างสะพานบรูคลินนั้นได้พบกับอุปสรรคและปัญหามากมายในทุกขั้นตอน แต่หลังจากใช้ระยะเวลาก่อสร้างยาวนานถึง 16 ปี ในที่สุดสะพานแห่งนี้จึงสามารถเปิดให้ใช้งานได้ในวันที่ 24 พฤษภาคม 1883 พร้อมกับการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ด้วยดอกไม้ไฟ ในวันแรกที่เปิดใช้งานนั้น มียานพาหนะกว่า 1,800 คันและผู้คนกว่า 150,000 คนเดินทางมาประเดิมใช้งานสะพานแห่งนี้\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n\n",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117806843411001344/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117802717184749568",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />ในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 ปฏิทินระบบเกรกอเรียน (Gregorian Calendar) ได้ถูกคิดค้นขึ้นโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่13 (Gregory XIII) แทนปฏิทินระบบจูเลียนซึ่งใช้อยู่แต่เดิม ซึ่งปฏิทินระบบจูเลียนนั้นจะมีความคลาดเคลือนอยู่เล็กน้อย แต่ผลจากการคลาดเคลื่อน\"เล็กน้อย\"นั้น เมื่อสะสมมานานหลังจากการถูกใช้มานับพันปี จึงทำให้วันและฤดูต่างๆเริ่มคลาดเคลื่อนมากขึ้นเรื่อยๆ<br /><br />ด้วยเหตุนี้ สันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 จึงได้กำหนดให้วันรุ่งขึ้นถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม 1582 กลายเป็นวันที่ 15 ตุลาคม 1582 ในทันที ทำให้วันที่ 5 - 14 ตุลาคม 1582 กลายเป็นวันที่ไม่เคยมีอยู่จริงในหลายดินแดน เช่น อิตาลี โปแลนด์ โปรตุเกส และสเปน ซึ่งบังคับใช้ปฏิทินเกรโกเรียนในปีนนั้น<br /><br />ในตอนแรกเริ่มนั้นมีเพียงประเทศคาทอลิกเท่านั้นที่ยอมรับปฏิทินระบบนี้ ต่อมาหลายประเทศจึงค่อยๆยอมรับและนำไปใช้ จนกลายเป็นระบบปฏิทินที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117802717184749568",
"published": "2020-06-19T10:00:00+00:00",
"source": {
"content": "\nในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 ปฏิทินระบบเกรกอเรียน (Gregorian Calendar) ได้ถูกคิดค้นขึ้นโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่13 (Gregory XIII) แทนปฏิทินระบบจูเลียนซึ่งใช้อยู่แต่เดิม ซึ่งปฏิทินระบบจูเลียนนั้นจะมีความคลาดเคลือนอยู่เล็กน้อย แต่ผลจากการคลาดเคลื่อน\"เล็กน้อย\"นั้น เมื่อสะสมมานานหลังจากการถูกใช้มานับพันปี จึงทำให้วันและฤดูต่างๆเริ่มคลาดเคลื่อนมากขึ้นเรื่อยๆ\n\nด้วยเหตุนี้ สันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 จึงได้กำหนดให้วันรุ่งขึ้นถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม 1582 กลายเป็นวันที่ 15 ตุลาคม 1582 ในทันที ทำให้วันที่ 5 - 14 ตุลาคม 1582 กลายเป็นวันที่ไม่เคยมีอยู่จริงในหลายดินแดน เช่น อิตาลี โปแลนด์ โปรตุเกส และสเปน ซึ่งบังคับใช้ปฏิทินเกรโกเรียนในปีนนั้น\n\nในตอนแรกเริ่มนั้นมีเพียงประเทศคาทอลิกเท่านั้นที่ยอมรับปฏิทินระบบนี้ ต่อมาหลายประเทศจึงค่อยๆยอมรับและนำไปใช้ จนกลายเป็นระบบปฏิทินที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n#mindsth",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117802717184749568/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117800455964684288",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />ตลาดหลักทรัพย์อัมสเตอร์ดัม (Bourse of Amsterdam) ได้ก่อสร้างจนแล้วเสร็จและเริ่มเปิดทำการซื้อขายหลักทรัพย์ในปี 1608 หรือเมื่อ 400กว่าปีมาแล้ว นับเป็นตลาดหลักทรัพย์ยุคใหม่แห่งแรก ซึ่งมีการซื้อขายทั้งหุ้น และตราสารต่างๆหลายชนิด<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><br />",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117800455964684288",
"published": "2020-06-19T02:59:00+00:00",
"source": {
"content": "\nตลาดหลักทรัพย์อัมสเตอร์ดัม (Bourse of Amsterdam) ได้ก่อสร้างจนแล้วเสร็จและเริ่มเปิดทำการซื้อขายหลักทรัพย์ในปี 1608 หรือเมื่อ 400กว่าปีมาแล้ว นับเป็นตลาดหลักทรัพย์ยุคใหม่แห่งแรก ซึ่งมีการซื้อขายทั้งหุ้น และตราสารต่างๆหลายชนิด\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n\n",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117800455964684288/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117798642809008128",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />ในช่วงทศวรรศที่ 1930 นั้น มีเรือเหาะมากมายหลายลำให้บริการในหลายเส้นทาง โดยการเดินทางด้วยเรือเหาะนั้นมีราคาแพง และค่อนข้างได้รับความนิยมจากชนชั้นสูง เนื่องจากสะดวกสบายและไม่อึดอัดเหมือนเครื่องบิน ซึ่งเครื่องบินนั้น ถึงแม้ว่าจะเดินทางได้เร็วกว่าแต่ก็มีขนาดเล็กมาก และแม้ว่าตัวเรือเหาะทั้งลำจะบรรจุเต็มไปด้วยก๊าซไฮโดรเจนซึ่งติดไฟง่ายและอันตราย แต่ไม่เคยเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงใดๆมาก่อน ผู้คนจึงให้ความไว้วางใจและเชื่อมันในความปลอดภัย <br /><br /><br />ในปี 1936 ซึ่งเป็นปีแรกของการให้บริการ ฮินเดนบวร์ก เรือเหาะชื่อดังสัญชาติเยอรมัน ได้เดินทางในระยะทางรวม 308,323 กิโลเมตร รับส่งผู้โดยสาร 2,798 คน และขนส่งสินค้า 160 ตัน เดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก 17 เที่ยว โดย 10 เที่ยวไปสหรัฐและ 7 เที่ยวไปบราซิล และยังทำลายสถิติเดินทางไปกลับข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเวลาเพียง 5 วัน 19 ชั่วโมงและ 51 นาทีในเดือนกรกฎาคมปีนั้น<br /><br /> <br />ฮินเดนบวร์กเดินทางเที่ยวที่ 18 ในคืนวันที่ 3 พฤษภาคม 1937 ซึ่งเป็นเที่ยวสุดท้าย จากเมืองฟรังค์ฟูร์ท-อัมไมน์ ประเทศเยอรมนี สู่รัฐนิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยผู้โดยสารจำนวนเพียงครึ่งลำ การเดินทางส่วนใหญ่เป็นไปด้วยความเรียบร้อย แต่ด้วยสภาพอากาศเลวร้ายและลมแรงมาก กัปตัน แมกซ์ พรุสส์ จึงพาผู้โดยสารยืนชมนครนิวยอร์ก ชายฝั่งบอสตันและนิวเจอร์ซีย์ จนเมื่ออากาศดีขึ้น เรือเหาะฮินเดนบวร์กจึงได้มุ่งเข้าเทียบฐานจอดเลคเฮิร์ทเมื่อเวลาประมาณ 19.00 น. ที่ความสูง 215 เมตร แต่ในขณะที่เรือเหาะค่อยๆลดระดับความสูงลงเพื่อเขาเทียบกับที่จอด ได้มีเปลวไฟพวยพุ่งออกมาจากบริเวณใกล้ท่อระบายด้านหน้าของครีบบน ฮินเดนบวร์กติดไฟและลุกเป็นไฟก้อนใหญ่ทีละส่วน และค่อยๆตกลงสู่พื้นดินอย่างช้าๆ <br /><br /> <br />ผู้โดยสาร 13 คนและลูกเรือ 22 คนเสียชีวิต จากจำนวนผู้โดยสาร 36 คนและลูกเรือ 61 คน ซึ่งการเสียชีวิตเกือบทั้งหมดไม่ได้เกิดจากไฟ แต่เป็นการกระโดดลงจากที่สูง ผู้โดยสารที่อยู่กับห้องโดยสารปลอดภัยทั้งหมดเนื่องจากเปลวไฟที่ร้อนจัดพัดขึ้นไปด้านบน ลูกเรือที่เสียชีวิต ส่วนมากเนื่องจากได้พยายามเข้าไปช่วยผู้โดยสารที่อยู่ในห้องโดยสาร หรือโดดลงมาก่อน ส่วนสาเหตุของอุบัติเหตุยังคงเป็นที่ถกเถียงและหาข้อสรุปไม่ได้ <br /><br />เหตุการณ์ครั้งนี้ เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้ผู้โดยสารหมดความเชื่อมั่นในการเดินทางด้วยเรือเหาะ และหันไปเดินทางด้วยเครื่องบินแทน<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a><br />",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117798642809008128",
"published": "2020-06-18T11:00:00+00:00",
"source": {
"content": "\nในช่วงทศวรรศที่ 1930 นั้น มีเรือเหาะมากมายหลายลำให้บริการในหลายเส้นทาง โดยการเดินทางด้วยเรือเหาะนั้นมีราคาแพง และค่อนข้างได้รับความนิยมจากชนชั้นสูง เนื่องจากสะดวกสบายและไม่อึดอัดเหมือนเครื่องบิน ซึ่งเครื่องบินนั้น ถึงแม้ว่าจะเดินทางได้เร็วกว่าแต่ก็มีขนาดเล็กมาก และแม้ว่าตัวเรือเหาะทั้งลำจะบรรจุเต็มไปด้วยก๊าซไฮโดรเจนซึ่งติดไฟง่ายและอันตราย แต่ไม่เคยเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงใดๆมาก่อน ผู้คนจึงให้ความไว้วางใจและเชื่อมันในความปลอดภัย \n\n\nในปี 1936 ซึ่งเป็นปีแรกของการให้บริการ ฮินเดนบวร์ก เรือเหาะชื่อดังสัญชาติเยอรมัน ได้เดินทางในระยะทางรวม 308,323 กิโลเมตร รับส่งผู้โดยสาร 2,798 คน และขนส่งสินค้า 160 ตัน เดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก 17 เที่ยว โดย 10 เที่ยวไปสหรัฐและ 7 เที่ยวไปบราซิล และยังทำลายสถิติเดินทางไปกลับข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเวลาเพียง 5 วัน 19 ชั่วโมงและ 51 นาทีในเดือนกรกฎาคมปีนั้น\n\n \nฮินเดนบวร์กเดินทางเที่ยวที่ 18 ในคืนวันที่ 3 พฤษภาคม 1937 ซึ่งเป็นเที่ยวสุดท้าย จากเมืองฟรังค์ฟูร์ท-อัมไมน์ ประเทศเยอรมนี สู่รัฐนิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยผู้โดยสารจำนวนเพียงครึ่งลำ การเดินทางส่วนใหญ่เป็นไปด้วยความเรียบร้อย แต่ด้วยสภาพอากาศเลวร้ายและลมแรงมาก กัปตัน แมกซ์ พรุสส์ จึงพาผู้โดยสารยืนชมนครนิวยอร์ก ชายฝั่งบอสตันและนิวเจอร์ซีย์ จนเมื่ออากาศดีขึ้น เรือเหาะฮินเดนบวร์กจึงได้มุ่งเข้าเทียบฐานจอดเลคเฮิร์ทเมื่อเวลาประมาณ 19.00 น. ที่ความสูง 215 เมตร แต่ในขณะที่เรือเหาะค่อยๆลดระดับความสูงลงเพื่อเขาเทียบกับที่จอด ได้มีเปลวไฟพวยพุ่งออกมาจากบริเวณใกล้ท่อระบายด้านหน้าของครีบบน ฮินเดนบวร์กติดไฟและลุกเป็นไฟก้อนใหญ่ทีละส่วน และค่อยๆตกลงสู่พื้นดินอย่างช้าๆ \n\n \nผู้โดยสาร 13 คนและลูกเรือ 22 คนเสียชีวิต จากจำนวนผู้โดยสาร 36 คนและลูกเรือ 61 คน ซึ่งการเสียชีวิตเกือบทั้งหมดไม่ได้เกิดจากไฟ แต่เป็นการกระโดดลงจากที่สูง ผู้โดยสารที่อยู่กับห้องโดยสารปลอดภัยทั้งหมดเนื่องจากเปลวไฟที่ร้อนจัดพัดขึ้นไปด้านบน ลูกเรือที่เสียชีวิต ส่วนมากเนื่องจากได้พยายามเข้าไปช่วยผู้โดยสารที่อยู่ในห้องโดยสาร หรือโดดลงมาก่อน ส่วนสาเหตุของอุบัติเหตุยังคงเป็นที่ถกเถียงและหาข้อสรุปไม่ได้ \n\nเหตุการณ์ครั้งนี้ เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้ผู้โดยสารหมดความเชื่อมั่นในการเดินทางด้วยเรือเหาะ และหันไปเดินทางด้วยเครื่องบินแทน\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n#mindsth\n",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117798642809008128/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117797138194722816",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />เรือเหาะฮินเดนบวร์ก (LZ 129 Hindenburg) อากาศยานขนส่งผู้โดยสารอันภาคภูมิใจของเยอรมันนีซึ่งสร้างขึ้นในปี 1935 ตัวเครื่องมีความยาวกว่า 245 เมตร หรือเท่ากับเครื่องโบอิ้ง 747 สามลำมาต่อกัน ใช้การยกตัวด้วยก๊าซไฮโดรเจน ทำความเร็วสูงสุดได้ราว 135 กิโลเมตร/ชั่วโมง ภายในห้องโดยสารประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกอันทันสมัยอย่างครบครัน ทั้งเตาไฟฟ้า ห้องอ่านหนังสือ ห้องอาหารสุดหรู และระเบียงชมวิว <br /><br />ในภาพ ฮินเดนบวร์กกำลังลอยอยู่เหนือมหานครนิวยอร์ค ในวันที่ 6 พฤษภาคม 1937 ในการเดินทางเที่ยวสุดท้าย ก่อนที่จะประสบกับหายนะในเวลาต่อมา<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117797138194722816",
"published": "2020-06-18T02:45:00+00:00",
"source": {
"content": "\nเรือเหาะฮินเดนบวร์ก (LZ 129 Hindenburg) อากาศยานขนส่งผู้โดยสารอันภาคภูมิใจของเยอรมันนีซึ่งสร้างขึ้นในปี 1935 ตัวเครื่องมีความยาวกว่า 245 เมตร หรือเท่ากับเครื่องโบอิ้ง 747 สามลำมาต่อกัน ใช้การยกตัวด้วยก๊าซไฮโดรเจน ทำความเร็วสูงสุดได้ราว 135 กิโลเมตร/ชั่วโมง ภายในห้องโดยสารประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกอันทันสมัยอย่างครบครัน ทั้งเตาไฟฟ้า ห้องอ่านหนังสือ ห้องอาหารสุดหรู และระเบียงชมวิว \n\nในภาพ ฮินเดนบวร์กกำลังลอยอยู่เหนือมหานครนิวยอร์ค ในวันที่ 6 พฤษภาคม 1937 ในการเดินทางเที่ยวสุดท้าย ก่อนที่จะประสบกับหายนะในเวลาต่อมา\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117797138194722816/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117789865794613248",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />ในปี 1686 จักรวรรดิออตโตมานได้ยกทัพซึ่งมีกำลังพลประมาณ 100,000 - 300,000นาย เข้าโจมตีเวียนนาเป็นครั้งที่สอง หลังจากประสบความล้มเหลวในการยึดเวียนนาครั้งแรกเมื่อปี 1529 หรือกว่า 157 ปีก่อนหน้านั้น <br /><br />ฝ่ายประเทศต่างๆในยุโรปได้รวมตัวกันก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรเฉพาะกิจที่เรียกว่า\"สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์\" (Holy League) เพื่อร่วมต่อต้านภัยคุกคามจากจักรวรรดิออตโตมานอีกครั้ง หลังจากเวียนนาถูกปิดล้อมอยู่ราวสองเดือน ฝ่ายสันนิบาตซึ่งสามารถรวบรวมกองทัพได้ราว 120,000 นาย ได้ยกทัพมาถึง และเข้าโจมตีแนวทหารออตโตมานจนได้รับชัยชนะและสามารถป้องกันกรุงเวียนนาไว้ได้ <br /><br />เหตุการณ์นี้ นับเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามที่เรียกว่า\"มหาสงครามตุรกี\" (Great Turkish War)<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117789865794613248",
"published": "2020-06-17T12:30:00+00:00",
"source": {
"content": "\nในปี 1686 จักรวรรดิออตโตมานได้ยกทัพซึ่งมีกำลังพลประมาณ 100,000 - 300,000นาย เข้าโจมตีเวียนนาเป็นครั้งที่สอง หลังจากประสบความล้มเหลวในการยึดเวียนนาครั้งแรกเมื่อปี 1529 หรือกว่า 157 ปีก่อนหน้านั้น \n\nฝ่ายประเทศต่างๆในยุโรปได้รวมตัวกันก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรเฉพาะกิจที่เรียกว่า\"สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์\" (Holy League) เพื่อร่วมต่อต้านภัยคุกคามจากจักรวรรดิออตโตมานอีกครั้ง หลังจากเวียนนาถูกปิดล้อมอยู่ราวสองเดือน ฝ่ายสันนิบาตซึ่งสามารถรวบรวมกองทัพได้ราว 120,000 นาย ได้ยกทัพมาถึง และเข้าโจมตีแนวทหารออตโตมานจนได้รับชัยชนะและสามารถป้องกันกรุงเวียนนาไว้ได้ \n\nเหตุการณ์นี้ นับเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามที่เรียกว่า\"มหาสงครามตุรกี\" (Great Turkish War)\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n#mindsth",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117789865794613248/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117791756961562624",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />ฉางอาน (長安) นครเก่าแก่ที่สร้างขึ้นในตั้งแต่สมัยราชวงศ์สุย และเคยถูกใช้เป็นราชธานีของจีนรวมกว่า 13 ราชวงศ์ ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อเมืองซีอาน<br /><br />ในภาพเป็นการจำลองฉางอันในสมัยของราชวงศ์ถัง ช่วงกลางศตวรรษที่ 8 ซึงมีถนนขนาดใหญ่ทอดผ่านกลางเมืองตรงไปยังพระราชวังหลวงขนาดมโหฬาร จำนวนประชากรเฉพาะในเขตกำแพงเมืองราว 1 ล้านคน และมีขนาดพื้นที่เมืองใหญ่โตกว่าในปัจจุบันราว 8-10 เท่า ซึ่งหากรวมจำนวนประชากรทั้งหมดในบริเวณโดยรอบที่ขึ้นทะเบียนกับนครฉางอันในยุคนั้นแล้ว จะมีจำนวนมากถึง 1,960,000 คนเลยทีเดียว<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117791756961562624",
"published": "2020-06-17T02:25:00+00:00",
"source": {
"content": "\nฉางอาน (長安) นครเก่าแก่ที่สร้างขึ้นในตั้งแต่สมัยราชวงศ์สุย และเคยถูกใช้เป็นราชธานีของจีนรวมกว่า 13 ราชวงศ์ ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อเมืองซีอาน\n\nในภาพเป็นการจำลองฉางอันในสมัยของราชวงศ์ถัง ช่วงกลางศตวรรษที่ 8 ซึงมีถนนขนาดใหญ่ทอดผ่านกลางเมืองตรงไปยังพระราชวังหลวงขนาดมโหฬาร จำนวนประชากรเฉพาะในเขตกำแพงเมืองราว 1 ล้านคน และมีขนาดพื้นที่เมืองใหญ่โตกว่าในปัจจุบันราว 8-10 เท่า ซึ่งหากรวมจำนวนประชากรทั้งหมดในบริเวณโดยรอบที่ขึ้นทะเบียนกับนครฉางอันในยุคนั้นแล้ว จะมีจำนวนมากถึง 1,960,000 คนเลยทีเดียว\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117791756961562624/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117787528488554496",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />สีหาสนบัลลังก์ หรือ บัลลังก์สิงห์ หนึ่งในบัลลังก์ 8 แบบของพระมหากษัตริย์พม่า โดยบัลลังก์สิงห์นี้จะใช้เป็นที่ประทับในการออกว่าราชการ ในภาพวาดนี้คือบัลลังก์สิงห์แห่งพระราชวังอมรปุระในช่วงทศวรรษที่ 1840 (ราวปีพ.ศ.2380)<br /><br />ตามธรรมเนียมแล้วราชสำนักพม่าจะมีราชบัลลังก์ 8 ประเภทตั้งอยู่ในท้องพระโรง 9 แห่ง จึงทำให้เกิดคำกล่าวว่า \"แปดบัลลังก์ เก้าท้องพระโรง\"<br /><br />สีหาสนบัลลังก์องค์สุดท้ายที่เหลืออยู่ในทุกวันนี้ ปัจจุบันตั้งอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเมืองย่างกุ้ง<br /><br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117787528488554496",
"published": "2020-06-16T12:00:00+00:00",
"source": {
"content": "\nสีหาสนบัลลังก์ หรือ บัลลังก์สิงห์ หนึ่งในบัลลังก์ 8 แบบของพระมหากษัตริย์พม่า โดยบัลลังก์สิงห์นี้จะใช้เป็นที่ประทับในการออกว่าราชการ ในภาพวาดนี้คือบัลลังก์สิงห์แห่งพระราชวังอมรปุระในช่วงทศวรรษที่ 1840 (ราวปีพ.ศ.2380)\n\nตามธรรมเนียมแล้วราชสำนักพม่าจะมีราชบัลลังก์ 8 ประเภทตั้งอยู่ในท้องพระโรง 9 แห่ง จึงทำให้เกิดคำกล่าวว่า \"แปดบัลลังก์ เก้าท้องพระโรง\"\n\nสีหาสนบัลลังก์องค์สุดท้ายที่เหลืออยู่ในทุกวันนี้ ปัจจุบันตั้งอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเมืองย่างกุ้ง\n\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n#mindsth",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117787528488554496/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117776812511596544",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "(Alexander the Great) หลังจากสิ้นพระชนม์ในปีที่ 323 ก่อนคริสตกาล<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br />",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117776812511596544",
"published": "2020-06-16T02:30:00+00:00",
"source": {
"content": "(Alexander the Great) หลังจากสิ้นพระชนม์ในปีที่ 323 ก่อนคริสตกาล\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117776812511596544/activity"
},
{
"type": "Create",
"actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"object": {
"type": "Note",
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117774986665488384",
"attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987",
"content": "<br />นครรัฐฟลอเรนซ์ เป็นอีกนครรัฐสำคัญของอิตาลีที่เริ่มผงาดขึ้นมา เป็นนครรัฐในแถวหน้าอย่างชัดเจนตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 12 และเติบโตอย่างรวดเร็วจากการค้าที่ขยายตัวอย่างมากตลอดช่วงศตวรรษที่ 13 <br /><br />ฟลอเรนซ์มีการปกครองแบบสาธารณรัฐ และถูกเข้ามายึดครองโดยอาณาจักรหรือนครรัฐอื่นๆเป็นบางช่วง จนในช่วงศตวรรษที่ 14 เริ่มปรากฏชื่อตระกูลพ่อค้าสำคัญๆที่ขึ้นมามีบทบาทในการเมืองการปกครองของฟลอเรนซ์มากขึ้น เช่น ตระกูลอัลบิซซิ (Albizzi), ตระกูลสโตรซซิ (Strozzi) และตระกูลเมดิซี (Medici) ที่มีอำนาจอย่างมากในช่วงราวศตวรรษที่ 15<br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=history\" title=\"#history\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#history</a> <br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyth\" title=\"#historyth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyth</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=historyinbrief\" title=\"#historyinbrief\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#historyinbrief</a><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&t=all&q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a>",
"to": [
"https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public"
],
"cc": [
"https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/followers"
],
"tag": [],
"url": "https://www.minds.com/newsfeed/1117774986665488384",
"published": "2020-06-15T11:00:00+00:00",
"source": {
"content": "\nนครรัฐฟลอเรนซ์ เป็นอีกนครรัฐสำคัญของอิตาลีที่เริ่มผงาดขึ้นมา เป็นนครรัฐในแถวหน้าอย่างชัดเจนตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 12 และเติบโตอย่างรวดเร็วจากการค้าที่ขยายตัวอย่างมากตลอดช่วงศตวรรษที่ 13 \n\nฟลอเรนซ์มีการปกครองแบบสาธารณรัฐ และถูกเข้ามายึดครองโดยอาณาจักรหรือนครรัฐอื่นๆเป็นบางช่วง จนในช่วงศตวรรษที่ 14 เริ่มปรากฏชื่อตระกูลพ่อค้าสำคัญๆที่ขึ้นมามีบทบาทในการเมืองการปกครองของฟลอเรนซ์มากขึ้น เช่น ตระกูลอัลบิซซิ (Albizzi), ตระกูลสโตรซซิ (Strozzi) และตระกูลเมดิซี (Medici) ที่มีอำนาจอย่างมากในช่วงราวศตวรรษที่ 15\n\n#history \n#historyth\n#historyinbrief\n#mindsth",
"mediaType": "text/plain"
}
},
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/entities/urn:activity:1117774986665488384/activity"
}
],
"id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/outbox",
"partOf": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1117720368103038987/outboxoutbox"
}