ActivityPub Viewer

A small tool to view real-world ActivityPub objects as JSON! Enter a URL or username from Mastodon or a similar service below, and we'll send a request with the right Accept header to the server to view the underlying object.

Open in browser →
{ "@context": "https://www.w3.org/ns/activitystreams", "type": "OrderedCollectionPage", "orderedItems": [ { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1165551091699847168", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "เพิ่มเติม<br />- เคี้ยวประมาณ 5-20 นาทีหลังอาหาร 2-3 ครั้งต่อวัน (เพจ: ใกล้หมอฟัน)<br />- การเคี้ยวหมากฝรั่งเป็นแค่ตัวช่วย ไม่สามารถทดแทนการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันได้<br />- ไม่ควรเคี้ยวมากเกินไป เพราะหมากฝรั่งแบบ Sugar-free ส่วนมากมักใช้ Sorbitol ให้ความหวานแทนน้ำตาล ที่ออกฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อนๆ และการเคี้ยวหมากฝรั่งเราจะกลืนอากาศเข้าไปในท้องด้วย อาจทำให้ท้องอืดได้", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1165551091699847168", "published": "2020-10-21T07:23:53+00:00", "source": { "content": "เพิ่มเติม\n- เคี้ยวประมาณ 5-20 นาทีหลังอาหาร 2-3 ครั้งต่อวัน (เพจ: ใกล้หมอฟัน)\n- การเคี้ยวหมากฝรั่งเป็นแค่ตัวช่วย ไม่สามารถทดแทนการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันได้\n- ไม่ควรเคี้ยวมากเกินไป เพราะหมากฝรั่งแบบ Sugar-free ส่วนมากมักใช้ Sorbitol ให้ความหวานแทนน้ำตาล ที่ออกฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อนๆ และการเคี้ยวหมากฝรั่งเราจะกลืนอากาศเข้าไปในท้องด้วย อาจทำให้ท้องอืดได้", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1165551091699847168/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1156109683625676800", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "จากโพสต์เดิมที่ค้างไว้เรื่อง \"รู้หรือไม่? ยาหยอดตา\"<br />www.facebook.com/jonjonrxzing/posts/2668867666667787<br />พี่จ้อนมาต่อให้แล้วนะครับ เรื่องลำดับการใช้ยาหยอดตา/ยาป้ายตา<br /><br />จากรูปภาพลำดับการใช้ยาหยอด 1-2-3-4 มาจากหลักการที่ว่า<br />ยารูปแบบน้ำใสจะดูดซึมได้ไวกว่ารูปแบบแขวนตะกอน เจล และขี้ผึ้งตามลำดับ<br />หลักการนี้จะได้ใช้ก็ต่อเมื่อมีการสั่งใช้ยาหยอดตา/ยาป้ายตาในเวลาเดียวกันตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปครับ<br />แต่ส่วนใหญ่ยาป้ายตามักจะถูกให้ใช้แยกเวลาเป็นก่อนนอนอยู่แล้ว<br /><br />จริง ๆ พี่จ้อนอยากให้จำแค่ลำดับ 1-2-3-4 ก็พอแล้วครับ<br /><br />ส่วนตรง \"ข้อพิจารณาเพิ่มเติม\" นั้นก็เอาไว้ประดับสมองไว้เล่น ๆ<br /><br />- ยาที่มีค่า pH สูงกว่าจะถูกดูดซึมได้ดีกว่ายาที่มีค่า pH ต่ำกว่า เช่น ยา timolol ที่มีค่า pH = 6.8 จะดูดซึมได้ดีดว่ายา pilocarpine ที่มีค่า pH = 5 เป็นต้น<br />- แบ่งตัวยาเป็น 4 กลุ่มเรียงตามลำดับการหยอดคือ A, B, C, และ D<br />ตรงนี้ไม่ไปจำมัน เพราะไม่ได้เอาไปสอบ ระยะเวลาห่างในการหยอดสำคัญกว่า<br /><br />**KeyNote<br />- ล้างมือก่อนเสมอ<br />- ยาหยอดตาใช้ 1 หยดพอ<br />- ห้ามล้างปลายหลอดยาหยอดตา<br />- ยาน้ำชนิดแขวนตะกอน (Suspension) ให้เขย่าขวดก่อนใช้ทุกครั้ง", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1156109683625676800", "published": "2020-09-25T06:07:06+00:00", "source": { "content": "จากโพสต์เดิมที่ค้างไว้เรื่อง \"รู้หรือไม่? ยาหยอดตา\"\nwww.facebook.com/jonjonrxzing/posts/2668867666667787\nพี่จ้อนมาต่อให้แล้วนะครับ เรื่องลำดับการใช้ยาหยอดตา/ยาป้ายตา\n\nจากรูปภาพลำดับการใช้ยาหยอด 1-2-3-4 มาจากหลักการที่ว่า\nยารูปแบบน้ำใสจะดูดซึมได้ไวกว่ารูปแบบแขวนตะกอน เจล และขี้ผึ้งตามลำดับ\nหลักการนี้จะได้ใช้ก็ต่อเมื่อมีการสั่งใช้ยาหยอดตา/ยาป้ายตาในเวลาเดียวกันตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปครับ\nแต่ส่วนใหญ่ยาป้ายตามักจะถูกให้ใช้แยกเวลาเป็นก่อนนอนอยู่แล้ว\n\nจริง ๆ พี่จ้อนอยากให้จำแค่ลำดับ 1-2-3-4 ก็พอแล้วครับ\n\nส่วนตรง \"ข้อพิจารณาเพิ่มเติม\" นั้นก็เอาไว้ประดับสมองไว้เล่น ๆ\n\n- ยาที่มีค่า pH สูงกว่าจะถูกดูดซึมได้ดีกว่ายาที่มีค่า pH ต่ำกว่า เช่น ยา timolol ที่มีค่า pH = 6.8 จะดูดซึมได้ดีดว่ายา pilocarpine ที่มีค่า pH = 5 เป็นต้น\n- แบ่งตัวยาเป็น 4 กลุ่มเรียงตามลำดับการหยอดคือ A, B, C, และ D\nตรงนี้ไม่ไปจำมัน เพราะไม่ได้เอาไปสอบ ระยะเวลาห่างในการหยอดสำคัญกว่า\n\n**KeyNote\n- ล้างมือก่อนเสมอ\n- ยาหยอดตาใช้ 1 หยดพอ\n- ห้ามล้างปลายหลอดยาหยอดตา\n- ยาน้ำชนิดแขวนตะกอน (Suspension) ให้เขย่าขวดก่อนใช้ทุกครั้ง", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1156109683625676800/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1151074160852234240", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "มีการศึกษาหนึ่งชื่อ Two Techniques to Make Swallowing Pills Easier (ปี 2014) จากมหาวิทยาลัย Heidelberg ประเทศเยอรมณี ทำการศึกษากับอาสาสมัคร จำนวน 151 คน (มากกว่าครึ่งหนึงของอาสาสมัครมีปัญหากับการกลืนยายาก)<br /><br />โดยสุ่มให้อาสาสมัครกลืนยาเม็ดและยาแคปซูลหลายขนาดและรูปร่าง โดยใช้เทคนิคการกลืนยา 2 รูปแบบ แล้วให้คะแนนความยาก-ง่าย ในการกลืนยาจาก 1-8 <br />ผลพบว่าอาสาสมัครสามารถกลืนยาได้ดีขึ้นถึง 59.7% สำหรับยาเม็ด และ 88.6% สำหรับยาแคปซูล<br /><br />2 เทคนิคที่ว่าคือ<br />1. Pop-bottle method ใช้กับยาที่เป็นรูปแบบเม็ด (Tablets) โดยมีวิธีดังนี้<br /><br />- เติมน้ำเปล่าใส่ขวดพลาสติกที่สามารถใช้มือบีบได้<br />- วางยาเม็ดไว้บนลิ้น จากนั้นอมปากขวดน้ำให้สนิท ไม่ให้อากาศและน้ำออกจากปาก<br />- เงยหน้า กระดกน้ำเข้าปากพร้อมกับออกแรงดูดน้ำเข้าไปด้วยกันพร้อมกับยาเม็ด<br />- ระหว่างดูดน้ำ พยายามอย่าให้อากาศไหลเข้าขวดน้ำ คุณจะพบว่าขวดน้ำถูกบีบเข้าจากแรงดูดเองโดยไม่ต้องใช้มือบีบ<br /><br />2. Lean-forward technique ใช้กับยาที่เป็นรูปแบบแคปซูล (Capsules)<br />โดยมีวิธีดังนี้<br /><br />- วางยาแคปซูลไว้บนลิ้น<br />- จิบน้ำปริมาณหนึ่ง อมยาไว้สักครู่ อย่าเพิ่งกลืน<br />- ก้มหน้าลง โดยให้คางชี้ไปทางหน้าอก<br />- กลืนยาแคปซูลพร้อมกับน้ำลงไป ในขณะที่ยังก้มหน้าอยู่<br /><br />***** แต่การศึกษายังมีข้อจำกัดหลายอย่าง และที่สำคัญ<br />ไม่เหมาะกับคนไข้ที่มีปัญหาภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia) เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงในการสำลักได้<br />รวมถึงคนไข้ที่มีปัญหา Phagophobia (โรคกลัวการกลืน) ด้วย<br /><br />ดังนั้น 2 วิธีดังกล่าวจึงเหมาะกับคนทั่วไปมากกว่า<br /><br />Ref.<br />Schiele, J., Schneider, H., Quinzler, R., Reich, G., & Haefeli, W. (2014). Two Techniques to Make Swallowing Pills Easier. Annals of Family Medicine, 12(6), 550-552.<br /><br /><br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a> ", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1151074160852234240", "published": "2020-09-11T08:37:44+00:00", "source": { "content": "มีการศึกษาหนึ่งชื่อ Two Techniques to Make Swallowing Pills Easier (ปี 2014) จากมหาวิทยาลัย Heidelberg ประเทศเยอรมณี ทำการศึกษากับอาสาสมัคร จำนวน 151 คน (มากกว่าครึ่งหนึงของอาสาสมัครมีปัญหากับการกลืนยายาก)\n\nโดยสุ่มให้อาสาสมัครกลืนยาเม็ดและยาแคปซูลหลายขนาดและรูปร่าง โดยใช้เทคนิคการกลืนยา 2 รูปแบบ แล้วให้คะแนนความยาก-ง่าย ในการกลืนยาจาก 1-8 \nผลพบว่าอาสาสมัครสามารถกลืนยาได้ดีขึ้นถึง 59.7% สำหรับยาเม็ด และ 88.6% สำหรับยาแคปซูล\n\n2 เทคนิคที่ว่าคือ\n1. Pop-bottle method ใช้กับยาที่เป็นรูปแบบเม็ด (Tablets) โดยมีวิธีดังนี้\n\n- เติมน้ำเปล่าใส่ขวดพลาสติกที่สามารถใช้มือบีบได้\n- วางยาเม็ดไว้บนลิ้น จากนั้นอมปากขวดน้ำให้สนิท ไม่ให้อากาศและน้ำออกจากปาก\n- เงยหน้า กระดกน้ำเข้าปากพร้อมกับออกแรงดูดน้ำเข้าไปด้วยกันพร้อมกับยาเม็ด\n- ระหว่างดูดน้ำ พยายามอย่าให้อากาศไหลเข้าขวดน้ำ คุณจะพบว่าขวดน้ำถูกบีบเข้าจากแรงดูดเองโดยไม่ต้องใช้มือบีบ\n\n2. Lean-forward technique ใช้กับยาที่เป็นรูปแบบแคปซูล (Capsules)\nโดยมีวิธีดังนี้\n\n- วางยาแคปซูลไว้บนลิ้น\n- จิบน้ำปริมาณหนึ่ง อมยาไว้สักครู่ อย่าเพิ่งกลืน\n- ก้มหน้าลง โดยให้คางชี้ไปทางหน้าอก\n- กลืนยาแคปซูลพร้อมกับน้ำลงไป ในขณะที่ยังก้มหน้าอยู่\n\n***** แต่การศึกษายังมีข้อจำกัดหลายอย่าง และที่สำคัญ\nไม่เหมาะกับคนไข้ที่มีปัญหาภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia) เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงในการสำลักได้\nรวมถึงคนไข้ที่มีปัญหา Phagophobia (โรคกลัวการกลืน) ด้วย\n\nดังนั้น 2 วิธีดังกล่าวจึงเหมาะกับคนทั่วไปมากกว่า\n\nRef.\nSchiele, J., Schneider, H., Quinzler, R., Reich, G., & Haefeli, W. (2014). Two Techniques to Make Swallowing Pills Easier. Annals of Family Medicine, 12(6), 550-552.\n\n\n\n#mindsth #mindsthai #mindsthailand #thai #thailand ", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1151074160852234240/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1147420734122532864", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "อาการเสียชีวิต 4 รูปแบบที่นับเป็นการเสียชีวิตจากการทำงานหนัก<br />1. โรคหัวใจ ทำงานหนักจนเกิดความผิดปกติที่หัวใจจนถึงแก่ความตาย<br />อาการ : ใจเต้นแรง ล้าที่แขนข้างซ้าย รู้สึกแปลกๆจากช่องท้องลามขึ้นมา เมื่อรู้สึกตื่นเต้นหรือกังวลจะรู้สึกร้อนที่อกจนทนแทบไม่ไหว<br />2. เส้นเลือดในสมองแตก เป็นหนึ่งอาการที่ทำงานหนักจนเกิดความผิดปกติในสมอง เส้นเลือดในสมองแตกและเสียชีวิต<br />อาการ : เวียนหัวจนรู้สึกเดินตรงๆไม่ได้, บางทีฟังจับใจความไม่ค่อยได้ ไม่มีสมาธิ, อยู่ๆก็หมดแรงทำของหล่นบ่อยๆ, บางทีตาลายเห็นภาพซ้อนกัน<br />3. ทำงานหนักจนฆ่าตัวตาย ทำงานหนักและมีอาการเครียดจนมีปัญหาทางสภาพจิตใจ จนท้ายที่สุดทรมานจนฆ่าตัวตาย<br />อาการ : ร่างกายอ่อนล้าไม่มีแรง เหนื่อยง่าย ทำอะไรก็รู้สึกไม่สนุกเหมือนเดิม มีอาการซึมเศร้า ขาดแรงจูงใจ<br />4. ทำงานหนักนอนไม่เพียงพอ จนเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น เกิดอาการหลับในระหว่างขับรถจนเกิดอุบัติเหตุ หรือแช่น้ำร้อนในอ่างที่บ้านแล้วหลับจมน้ำเสียชีวิต<br /><br />จำไว้ว่า งานไม่ใช่ทุกอย่างของชีวิต จงแบ่งเวลาชีวิตให้สมดุล พักผ่อนให้เพียงพอ หากิจกรรมคลายเครียดทำ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สุดท้ายถ้าไม่ไหวควรปรึกษาแพทย์นะจ๊ะ <br />ด้วยความเป็นห่วงจา่กลุงพี่จ้อน <3 <br /><br /><br />ขอบคุณข้อมูล<br /><a href=\"https://press.ikidane-nippon.com/th/a00122/?fbclid=IwAR11wK_B-2f51EpQ-L_GY13ML0eRDYPZgt8UNi-6RTILr03NDiaAEzx7CWw\" target=\"_blank\">https://press.ikidane-nippon.com/th/a00122/?fbclid=IwAR11wK_B-2f51EpQ-L_GY13ML0eRDYPZgt8UNi-6RTILr03NDiaAEzx7CWw</a><br /><br />", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1147420734122532864", "published": "2020-09-01T06:40:19+00:00", "source": { "content": "อาการเสียชีวิต 4 รูปแบบที่นับเป็นการเสียชีวิตจากการทำงานหนัก\n1. โรคหัวใจ ทำงานหนักจนเกิดความผิดปกติที่หัวใจจนถึงแก่ความตาย\nอาการ : ใจเต้นแรง ล้าที่แขนข้างซ้าย รู้สึกแปลกๆจากช่องท้องลามขึ้นมา เมื่อรู้สึกตื่นเต้นหรือกังวลจะรู้สึกร้อนที่อกจนทนแทบไม่ไหว\n2. เส้นเลือดในสมองแตก เป็นหนึ่งอาการที่ทำงานหนักจนเกิดความผิดปกติในสมอง เส้นเลือดในสมองแตกและเสียชีวิต\nอาการ : เวียนหัวจนรู้สึกเดินตรงๆไม่ได้, บางทีฟังจับใจความไม่ค่อยได้ ไม่มีสมาธิ, อยู่ๆก็หมดแรงทำของหล่นบ่อยๆ, บางทีตาลายเห็นภาพซ้อนกัน\n3. ทำงานหนักจนฆ่าตัวตาย ทำงานหนักและมีอาการเครียดจนมีปัญหาทางสภาพจิตใจ จนท้ายที่สุดทรมานจนฆ่าตัวตาย\nอาการ : ร่างกายอ่อนล้าไม่มีแรง เหนื่อยง่าย ทำอะไรก็รู้สึกไม่สนุกเหมือนเดิม มีอาการซึมเศร้า ขาดแรงจูงใจ\n4. ทำงานหนักนอนไม่เพียงพอ จนเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น เกิดอาการหลับในระหว่างขับรถจนเกิดอุบัติเหตุ หรือแช่น้ำร้อนในอ่างที่บ้านแล้วหลับจมน้ำเสียชีวิต\n\nจำไว้ว่า งานไม่ใช่ทุกอย่างของชีวิต จงแบ่งเวลาชีวิตให้สมดุล พักผ่อนให้เพียงพอ หากิจกรรมคลายเครียดทำ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สุดท้ายถ้าไม่ไหวควรปรึกษาแพทย์นะจ๊ะ \nด้วยความเป็นห่วงจา่กลุงพี่จ้อน <3 \n\n\nขอบคุณข้อมูล\nhttps://press.ikidane-nippon.com/th/a00122/?fbclid=IwAR11wK_B-2f51EpQ-L_GY13ML0eRDYPZgt8UNi-6RTILr03NDiaAEzx7CWw\n\n", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1147420734122532864/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1146685508941606912", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "ถึงแม้ว่าโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่จะมีปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องทางกรรมพันธุ์โดยเฉพาะบุคคลที่มีญาติใกล้ชิดเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, หรือผู้ที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรังของลำไส้บางอย่าง<br />แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงภายนอกที่เราสามารถควบคุมมันได้ อย่างใน infographic ที่นำเสนอด้านล่างนี้<br />...................................................................................<br />ใครบ้างที่ควรไปทำการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่<br />- ผู้ที่ไม่มีอาการและไม่มีปัจจัยเสี่ยงควรเริ่มต้นที่อายุ 50 ปี<br />- สำหรับผู้ที่มีประวัติมะเร็งลำไส้ใหญ่ในครอบครัว ควรเริ่มตรวจคัดกรองที่อายุ 40 ปีหรือที่ อายุ 5 ปี ก่อนอายุของคนในครอบครัวที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่<br />- ส่วนผู้ที่มีประวัติเป็นลำไส้อักเสบชนิด Crohn’s disease และ Ulcerative colitis หรือ ผู้ป่วยที่มีติ่งเนื้องอกจำนวนมาก (Polyposis Coli) การตรวจอาจเริ่มในอายุที่เร็วขึ้นโดยสามารถปรึกษาแพทย์ได้<br />อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่<br />CHULA CANCER : <a href=\"https://www.chulacancer.net/patient-list-page.php?id=41\" target=\"_blank\">https://www.chulacancer.net/patient-list-page.php?id=41</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a> ", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1146685508941606912", "published": "2020-08-30T05:58:48+00:00", "source": { "content": "ถึงแม้ว่าโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่จะมีปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องทางกรรมพันธุ์โดยเฉพาะบุคคลที่มีญาติใกล้ชิดเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, หรือผู้ที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรังของลำไส้บางอย่าง\nแต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงภายนอกที่เราสามารถควบคุมมันได้ อย่างใน infographic ที่นำเสนอด้านล่างนี้\n...................................................................................\nใครบ้างที่ควรไปทำการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่\n- ผู้ที่ไม่มีอาการและไม่มีปัจจัยเสี่ยงควรเริ่มต้นที่อายุ 50 ปี\n- สำหรับผู้ที่มีประวัติมะเร็งลำไส้ใหญ่ในครอบครัว ควรเริ่มตรวจคัดกรองที่อายุ 40 ปีหรือที่ อายุ 5 ปี ก่อนอายุของคนในครอบครัวที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่\n- ส่วนผู้ที่มีประวัติเป็นลำไส้อักเสบชนิด Crohn’s disease และ Ulcerative colitis หรือ ผู้ป่วยที่มีติ่งเนื้องอกจำนวนมาก (Polyposis Coli) การตรวจอาจเริ่มในอายุที่เร็วขึ้นโดยสามารถปรึกษาแพทย์ได้\nอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่\nCHULA CANCER : https://www.chulacancer.net/patient-list-page.php?id=41 #mindsth #mindsthailand #mindsthai #thai #thailand ", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1146685508941606912/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1146368826746433536", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "เบื้องต้นเมื่อสงสัยว่าแพ้ยา<br /> 1. หยุดยาที่สงสัยทันที<br /> 2. หากอาการสงสัยการแพ้รุนแรง หรือผื่นแพ้ยารุนแรง ให้รีบไปโรงพยาบาลทันที พร้อมกับนำยาทั้งหมดที่รับประทานไปด้วย<br /> 3. ถ่ายรูปผื่นที่เกิดขึ้น เพื่อให้แพทย์วินิจฉัย เนื่องจากผื่นบางชนิด เช่น ลมพิษ มักหายไปเองได้อย่างรวดเร็ว<br /><br />วิธีการปฏิบัติตัวเมื่อแพ้ยา<br /> 1. หลีกเลี่ยงยาที่แพ้ และยาที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกัน<br /> 2. พกบัตรแพ้ยา และแสดงบัตรเสมอ เมื่อซื้อยา หรือรับบริการในโรงพยาบาล/คลินิก<br /> 3. ใช้ยาเท่าที่มีความจำเป็นโดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ<br /> 4. ไม่ควรลองใช้ยาที่สงสัยว่าจะแพ้เอง หรือรับประทานยาแก้แพ้ก่อน เนื่องจากไม่สามารถป้องกันการแพ้ยาได้ และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้<br /> 5. หากมียาต้องสงสัยหลายชนิด หรือเป็นยาที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ในอนาคต เช่น ยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนนิซิลิน (penicillin) ยาชา ยาที่ใช้ในการผ่าตัดดมสลบ เป็นต้น ควรพบแพทย์โรคภูมิแพ้ เพื่อวางแผนการทดสอบยาต่อไป<br /><br />ขอบคุณข้อมูลจาก<br />- <a href=\"https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=1388\" target=\"_blank\">https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=1388</a><br />- <a href=\"https://oryor.com/\" target=\"_blank\">https://oryor.com/</a>อย/detail/media_printing/930<br />- <a href=\"http://pca.fda.moph.go.th/public_media_detail.php?id=6&amp;cat=56&amp;content_id=1095&amp;fbclid=IwAR0oVU0MUEP2MV9kkHwi_M1HSG8Bb_N9KjaIhXBntIPfW5a1Mys2ulvA8gE\" target=\"_blank\">http://pca.fda.moph.go.th/public_media_detail.php?id=6&amp;cat=56&amp;content_id=1095&amp;fbclid=IwAR0oVU0MUEP2MV9kkHwi_M1HSG8Bb_N9KjaIhXBntIPfW5a1Mys2ulvA8gE</a><br />- <a href=\"http://www.suanprung.go.th/medicine/pdf/med02.pdf\" target=\"_blank\">http://www.suanprung.go.th/medicine/pdf/med02.pdf</a><br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> ", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1146368826746433536", "published": "2020-08-29T09:00:25+00:00", "source": { "content": "เบื้องต้นเมื่อสงสัยว่าแพ้ยา\n 1. หยุดยาที่สงสัยทันที\n 2. หากอาการสงสัยการแพ้รุนแรง หรือผื่นแพ้ยารุนแรง ให้รีบไปโรงพยาบาลทันที พร้อมกับนำยาทั้งหมดที่รับประทานไปด้วย\n 3. ถ่ายรูปผื่นที่เกิดขึ้น เพื่อให้แพทย์วินิจฉัย เนื่องจากผื่นบางชนิด เช่น ลมพิษ มักหายไปเองได้อย่างรวดเร็ว\n\nวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อแพ้ยา\n 1. หลีกเลี่ยงยาที่แพ้ และยาที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกัน\n 2. พกบัตรแพ้ยา และแสดงบัตรเสมอ เมื่อซื้อยา หรือรับบริการในโรงพยาบาล/คลินิก\n 3. ใช้ยาเท่าที่มีความจำเป็นโดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ\n 4. ไม่ควรลองใช้ยาที่สงสัยว่าจะแพ้เอง หรือรับประทานยาแก้แพ้ก่อน เนื่องจากไม่สามารถป้องกันการแพ้ยาได้ และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้\n 5. หากมียาต้องสงสัยหลายชนิด หรือเป็นยาที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ในอนาคต เช่น ยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนนิซิลิน (penicillin) ยาชา ยาที่ใช้ในการผ่าตัดดมสลบ เป็นต้น ควรพบแพทย์โรคภูมิแพ้ เพื่อวางแผนการทดสอบยาต่อไป\n\nขอบคุณข้อมูลจาก\n- https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=1388\n- https://oryor.com/อย/detail/media_printing/930\n- http://pca.fda.moph.go.th/public_media_detail.php?id=6&cat=56&content_id=1095&fbclid=IwAR0oVU0MUEP2MV9kkHwi_M1HSG8Bb_N9KjaIhXBntIPfW5a1Mys2ulvA8gE\n- http://www.suanprung.go.th/medicine/pdf/med02.pdf\n\n#mindsth #mindsthailand #thailand #thai ", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1146368826746433536/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1142051882405187584", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "ใครขี้เกียจพูดเยอะ (เพราะเภสัชจะซักเยอะ) ให้จดโพยใส่กระดาษแล้วยื่นให้เภสัชนะ อิอิ <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1142051882405187584", "published": "2020-08-17T11:06:25+00:00", "source": { "content": "ใครขี้เกียจพูดเยอะ (เพราะเภสัชจะซักเยอะ) ให้จดโพยใส่กระดาษแล้วยื่นให้เภสัชนะ อิอิ #mindsth #thailand #thai #mindsthai #mindsthailand", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1142051882405187584/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1141661207432298496", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "โดย 1 จะมีคุณภาพดีมาก มีกลิ่นหอม รสชาติมีเอกลัษณ์ชัดเจนที่สุด และ 2 คุณภาพรองลงมา ยังมีกลิ่นหอมดี แต่ไม่เท่าแบบแรก ในขณะที่ 5 นั้นจะมีสีใสขึ้น กลิ่นและรสชาติเบาบางลงจนถึงไม่มีเลย<br /><br />ขอบคุณข้อมูลจาก<br />The International Olive Council : <a href=\"https://www.internationaloliveoil.org/\" target=\"_blank\">https://www.internationaloliveoil.org/</a><br /><a href=\"https://www.topspicks.tops.co.th/single-post/types-of-olive-oil-and-recipe2019\" target=\"_blank\">https://www.topspicks.tops.co.th/single-post/types-of-olive-oil-and-recipe2019</a><br /><a href=\"https://www.sanook.com/health/4537/\" target=\"_blank\">https://www.sanook.com/health/4537/</a><br /><a href=\"https://themomentum.co/happy-feature-olive-oil/\" target=\"_blank\">https://themomentum.co/happy-feature-olive-oil/</a><br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1141661207432298496", "published": "2020-08-16T09:14:01+00:00", "source": { "content": "โดย 1 จะมีคุณภาพดีมาก มีกลิ่นหอม รสชาติมีเอกลัษณ์ชัดเจนที่สุด และ 2 คุณภาพรองลงมา ยังมีกลิ่นหอมดี แต่ไม่เท่าแบบแรก ในขณะที่ 5 นั้นจะมีสีใสขึ้น กลิ่นและรสชาติเบาบางลงจนถึงไม่มีเลย\n\nขอบคุณข้อมูลจาก\nThe International Olive Council : https://www.internationaloliveoil.org/\nhttps://www.topspicks.tops.co.th/single-post/types-of-olive-oil-and-recipe2019\nhttps://www.sanook.com/health/4537/\nhttps://themomentum.co/happy-feature-olive-oil/\n\n#mindsth #mindsthailand #mindsthai #thai #thailand", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1141661207432298496/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1140615643785826304", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "😙 <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1140615643785826304", "published": "2020-08-13T11:59:20+00:00", "source": { "content": "😙 #mindsth #mindsthai #thai #thailand", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1140615643785826304/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1140211777870131200", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "ขอบคุณข้อมูล<br /><br />- <a href=\"https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/QA_full.php?id=2603\" target=\"_blank\">https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/QA_full.php?id=2603</a><br />- <a href=\"http://medinfo2.psu.ac.th/shf/data/pr55_MayJun.pdf\" target=\"_blank\">http://medinfo2.psu.ac.th/shf/data/pr55_MayJun.pdf</a><br />- <a href=\"https://www.webmd.com/women/qa/can-caffeine-inhibit-the-absorption-of-iron\" target=\"_blank\">https://www.webmd.com/women/qa/can-caffeine-inhibit-the-absorption-of-iron</a><br /><br /><a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a> ", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1140211777870131200", "published": "2020-08-12T09:14:30+00:00", "source": { "content": "ขอบคุณข้อมูล\n\n- https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/QA_full.php?id=2603\n- http://medinfo2.psu.ac.th/shf/data/pr55_MayJun.pdf\n- https://www.webmd.com/women/qa/can-caffeine-inhibit-the-absorption-of-iron\n\n#mindsth #mindsthailand #mindsthai #thai #thailand ", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1140211777870131200/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1135903655558868992", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "<a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a>", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1135903655558868992", "published": "2020-07-31T11:55:34+00:00", "source": { "content": "#mindsth #mindsthailand #thailand", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1135903655558868992/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1132990801225281536", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "ชีวิตยังมีพรุ่งนี้เสมอ<br /> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=cartoonthai\" title=\"#cartoonthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#cartoonthai</a> ", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1132990801225281536", "published": "2020-07-23T11:00:55+00:00", "source": { "content": "ชีวิตยังมีพรุ่งนี้เสมอ\n #mindsth #mindsthai #mindsthailand #cartoonthai ", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1132990801225281536/activity" }, { "type": "Create", "actor": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "object": { "type": "Note", "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1131178593271181312", "attributedTo": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010", "content": "อันนี้พูดถึงเฉพาะวิตามิน C รูปแบบ L-Ascorbic acid นะ<br />ยังไม่ได้พูดถึงวิตามินซีแบบอนุพันธ์ชนิดต่าง ๆ<br /><br />Ref: shorturl.at/ejlCI <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsth\" title=\"#mindsth\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsth</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthailand\" title=\"#mindsthailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthailand</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=mindsthai\" title=\"#mindsthai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#mindsthai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thai\" title=\"#thai\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thai</a> <a href=\"https://www.minds.com/search?f=top&amp;t=all&amp;q=thailand\" title=\"#thailand\" class=\"u-url hashtag\" target=\"_blank\">#thailand</a> ", "to": [ "https://www.w3.org/ns/activitystreams#Public" ], "cc": [ "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/followers" ], "tag": [], "url": "https://www.minds.com/newsfeed/1131178593271181312", "published": "2020-07-18T10:59:51+00:00", "source": { "content": "อันนี้พูดถึงเฉพาะวิตามิน C รูปแบบ L-Ascorbic acid นะ\nยังไม่ได้พูดถึงวิตามินซีแบบอนุพันธ์ชนิดต่าง ๆ\n\nRef: shorturl.at/ejlCI #mindsth #mindsthailand #mindsthai #thai #thailand ", "mediaType": "text/plain" } }, "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/entities/urn:activity:1131178593271181312/activity" } ], "id": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/outbox", "partOf": "https://www.minds.com/api/activitypub/users/1109891973172437010/outboxoutbox" }